Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับการเคลื่อนไหวผิดปกติ
กรณีที่ 1 ไม่มีไข้ นึกถึง ความผิดปกติของสมองที่เกิดจากการได้รับ บาดเจ็บ
กรณีที่ 2 มีไข้ นึกถึง ความผิดปกติที่สมองทีเกิดจากการติดเชื้อของ เยื่อหุ้มสมอง สมองและไขสันหลัง
กรณีที่ 3 มีไข้สูง เกิน 38 °c อายุ ไม่มีการ ติดเชื้อของระบบประสาทนึกถึง Febrile convulsion
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Simple febrile seizure (primary febrile seizure)
มีไข้ร่วมกับชักในเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี
ระยะเวลาการชักเกิดช่วงสัน ๆ ไม่เกิน 15 นาที
Complex febrile seizure
ระยะเวลาการชักเกิดนานมากกว่า 15นาที
เด็กที่ชักชนิด complex มีอัตราเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคลมชัก แพทย์ จะให้ยาป้องกันการชัก เช่น Phenobarbital หรือ Valproic acid
ท่าทาง (posturing)
Decorticate posturing เป็นท่านอนที่เด็กนอนหงาย งอแขนทั้ง 2 ข้าง เข้าหาตัว ในระดับไหล่ กามือแน่นและ งอข้อมือทั้ง 2 ข้าง ส่วนขาทั้ง 2 ข้าง เหยียดปลายเท้า ออก
Decerebrate posturing เป็นท่านอนที่เด็กนอนหงาย แขน ทั้ง 2 ข้างเกร็ง เหยียดออกและคว่าแขนลงโดยบิดข้อมือออก ด้านข้าง ขาทั้ง 2 ข้างเกร็ง เหยียดออกและแยกออกจากกัน
โรคลมชัก(Epilepsy)
สาเหตุ
ทราบสาเหตุ : ติดเชือระบบประสาทส่วนกลาง,ภยันตรายระหว่างการคลอดหรือ หลังคลอด,ภยันตรายที่ศีรษะ
ไม่ทราบสาเหตุ : จากความผิดปกติของ Neurotransmission ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของยีน
กลุ่มที่หาสาเหตุไม่ได้ : มีพยาธิสภาพภายในสมอง จัดอยู่ใน กลุ่ม Symtomatic epilepsy
อาการและอาการแสดง
Preictal period คือ ระยะก่อนอาการชัก
อาการนำ (Seizure prodromes) อาการบางอย่างที่นามาก่อน มีอาการชัก อาจเกินนานหลายนาที ชั่วโมงก่อนชัก
อาการเตือน (Aura) ลักษณะอาการเตือนแตกต่างกันตาม ตาแหน่งของสมอง เช่น มีอาการปวด ชา
Ictal event หรือ Peri-ictal period คือ ระยะที่เกิดอาการชัก มีระยะเวลาตังแต่วินาที จนถึงนาที มักจะไม่นานเกินครึ่งชั่วโมง
Interictal peroid คือ ช่วงเวลาระหว่างการชัก เริ่มตังแต่ระยะเวลา หลังการชักหนึ่งสินสุดลงไปจนถึงเริ่มเกิดชักครังใหม่
ชนิดของโรคลมชัก
อาการชักเฉพาะที่ (Partial / Focal seizure)
ชักเฉพาะที่แบบมีสติ (Simple partial seizures /Simple focal seizure) ขณะชักผู้ป่วยรู้ตัวตลอดเวลา
อาการชักเฉพาะที่แบบขาดสติ (Complex partial seizures /Complex focal seizure) ขณะชักจะสูญเสียการรับรู้สติ เมื่อสินสุดการชักจะจาเหตุการณ์ในช่วงชักไม่ได้
อาการชักเฉพาะที่ตามดว้ยอาการชักทั้งตัว(Focal with secondarily generalized seizures) อาการชักแกร็งก ระตุกทังตัว เป็นอาการชักเฉพาะที่ซึ่งมีอาการเริ่มจากส่วนหนึ่งของ ร่างกายแล้วค่อย ๆ กระจายไปยังส่วนที่อยู่ใกล้
อาการชักทั้งตัว (Generalized seizures) เกิดการเสีย หน้าที่ของสมองทัง 2 ซีก
อาการชักเหม่อ (Absence) มีลักษณะเหม่อลอย ไม่ รู้สึกตัวชั่วครู เกิดขึนทันทีเป็นระยะเวลาสัน ๆ
กลุ่มอาการชักเหม่อแบบตรง (Typical absence seizures) ชักลักษณะ เหม่อลอยไม่รู้สึกตัว
อาการชักเหม่อที่ไม่รู้ตัวหรือไรส้ติเท่านัน
อาการเกร็งกระตุก (Tonic clonic seizures) ชักเกร็งกระตุก
ทังตัว ผู้ป่วยจะหมดสติ ร่วมกับมีอาการเกร็งกล้ามเนือทังตัวนานไม่เกิน 30 วินาที ตามด้วยกล้ามเนือกระตุกเป็นจังหวะ นานประมาณ 1 – 2 นาที
อาการชักกระตุก (Clonic seizures) เป็นการชักมีลักษณะกระตุก เป็นจังหวะของอาการชัก
อาการชักเกร็ง (Tonic seizures) เป็นการชักมีลักษณะเกร็งแข็ง
จากกล้ามเนือมีความตึงตัวมากขึน เกิดนานประมาณ 2 – 10 วินาที เมื่อ มีอาการจะมีลัษณะแขนขาเหยียดตรง อาจเกิดทันทีหรือค่อยเป็นไป อาจ มีการสั่นจากกล้ามเนือหดตัว
อาการชักตัวอ่อน (Atonic seizures) เป็นอาการชักที่มีการ
เสียความตึงตัวของกล้ามเนือ
อาการชักสะดุ้ง (Myoclonic seizures) การชักที่มีลักษณะ สะดุ้ง มีการหดตัวของกล้ามเนืออย่างรุนแรงและรวดเร็วมาก อาการ
คล้ายสะดุ้งตกใจ
ระดับความรู้สึกตัว
ความรู้สึกสับสน (confusion)
ระดับความรู้สึกง่วงงุน (lethargy / drowsy)
ระดับความรู้สึก stupor ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
การรับรู้ผิดปกติ (disorientation)
ระดับหมดสติ (coma) ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
Glasgow Coma Score
การสนองตอบด้วยการลืมตา (Eye opening : E)
ลืมตาเอง 4 คะเเนน
ลืมตาเมื่อเรียกหรือได้ยินเสียงพูด 3 คะเเนน
ลืมตาเมื่อเจ็บปวด 2 คะเเนน
ไม่ลืมตาเมื่อได้รับการกระตุ้น 1 คะเเนน
การตอบสนองการพูด (Verbral response : V)
กรณีเด็กอายุ 0 – 4 ปี
-ยิ้ม ฟัง มองตาม/ร้องเสียงดัง/พูดจ้อ 5 คะเเนน
เปล่งเสียงตามพัฒนาการ/พูดคุยเป็นคาและ ประโยค ร้องไห้เมื่อถูกทาให้ระคายเคือง/ ร้องไห้แต่หยุด 4 คะเเนน
ร้องไห้ตลอด/กรีดร้องเมื่อเจ็บ 3 คะแนน
ส่งเสียงครางเมื่อเจ็บหรือกระวนกระวาย พักไม่ได้ 2 คะแนน
ไม่เปล่งเสียงหรือไม่ตอบสนอง 1 คะแนน
กรณีเด็กอายุ 5 – 18 ปี
พูดได้ไม่สับสน 5 คะเเนน
พูดได้แต่สับสน 4 คะเเนน
พูดได้เป็นคาๆค่อนข้างสับสน หรือ
พูดโดยไม่สอดคล้องกับคาถาม 3 คะเเนน
เปล่งเสียงได้แต่ไม่เป็นคำพูด 2 คะเเนน
ไม่เปล่งเสียง 1 คะเเนน
ผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจหรือใส่Tracheostomyให้ใส่อักษร T
การตอบสนองด้วยการเคลื่อนไหว (Motor response : M)
กรณีเด็กอายุ 0 – 4 ปี
เคลื่อนไหวได้เอง 6 คะเนน
ชักแขนขาหนีเมื่อจับ 5 คะเเนน
ชักแขนขาหนีเมื่อเจ็บ 4 คะเเนน
แขนขามีอาการเกร็งแบบศอกงอ (Decorticate) 3 คะเเนน
แขนมีการเกร็งแบบศอกเหยียด (Decerebrate) 2 คะเเนน
ไม่มีปฏิกิริยาใดๆหรือไม่เคลื่อนไหวเลย 1 คะแนน
กรณีเด็กอายุ 5 – 18 ปี
ทำตามคำสั่งได้ 6 คะเเนน
เคลื่อนไหวเมื่อรู้สึกเจ็บหรือทราบ ตาแหน่งที่เจ็บ 5 คะเเนน
ชักแขนขาหนีเมื่อเจ็บ 4 คะเเนน
แขนขามีอาการเกร็งแบบศอกงอ (Decorticate) 3 คะเเนน
แขนมีการเกร็งแบบศอกเหยียด (Decerebrate) 2 คะเเนน
ไม่มีปฏิกิริยาใดๆหรือไม่เคลื่อนไหวเลย 1 คะเเนน
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ( Meningitis)
เกิดจากเชื้อ Neisseria meningococcus
อาการเเละอาการเเสดง
มีอาการไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชักและซึมลงจนหมดสติ มีอาการ คอแข็ง (Nuchal rigidity คือ มีแรงต้านเมื่อก้มคอผู้ป่วย) ตรวจพบ Kernig sign และ Brudzinski sign ให้ผลบวก รีเฟล็กซ์ลึกไวเกิน ม
การตรวจน้ำไขสันหลัง
ค่าปกติของน้าไขสันหลัง ปกติจะไม่มีสี
ความดันระหว่าง 75 – 180 มม.น้ำ
ไม่มีเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว
โปรตีน 15 – 45 mg / 100 ml
กลูโคส 50 – 75 mg / 100 ml
คลอไรด์ 700 – 750 mg / 100 ml
โรคไข้กาฬหลังแอ่น(Meningococcal meningitis)
เกิดจากเชื้อ Neisseria meningitides
สิ่งส่งตรวจ
น้ำจากผิวหนังที่เป็นผื่นเลือด
เลือด
Nasopharyngeal 1 swab
วิธีการติดต่อ
เชื้อจะออกมาทางละอองน้ำมูก น้ำลาย (droplet) จากปากหรือจมูกของผู้ที่เป็นพาหะ
อาการและอาการเเสดง
ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้าเลือด (pink macules) ขึ้นตามผิวหนัง
อาการสำคัญ
Meningococcemia
ไข้และมีผื่นแดงจ้าขึ้น ตามตัว ใน 2-3 วันต่อมา จะเปลี่ยนเป็นสีคล้าจนเป็นสะเก็ดสีดา บางทีเป็นตุ่มน้า มีจุดแดงอยู่ตรงกลาง ส่วนใหญ่จะมีผื่นหลังไข้ขึ้น 24-48 ชั่วโมง
Meningitis
ไข้ ปวดศีรษะ คอแข็ง ซึมและสับสน อาการจะแย่ ลงอย่างรวด
การรรักษา
Glucocorticoid therapy ก่อนการให้ยาปฏิชีวนะ 15 นาที
ยาปฏิชีวนะ เช่น Ceftriaxone /PGS/Chloramphenicol
การรักษาแบบประคับประคองและตามอาการอื่นๆ
การควบคุมป้องกันโรค
ให้ความรู้และประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคแก่ประชาชน
ใช้วัคซีนป้องกันโรค ใน Serogroups A, C, Y และ W135 ทั้งผู้ใหญ่และเด็กโต
มาตรการเมื่อเกิดการระบาด
ต้องดำเนินการเฝ้าระวังอย่างเข้มงวด
ลดความแออัดหนาแน่นของผู้ที่ต้องอยู่ร่วมกัน
ใช้ยา rifampicin แก่ผู้สัมผัสใกล้ชิดเพื่อลดจานวนผู้เป็นพาหะ
ภาวะน้ำคั่งในกะโหลกศีรษะ (Hydrocephalus)
อาการสำคัญ
ศรีษะโตแต่กำเนิด,กระหม่อมหน้าโป่ง,ศีรษะโตเพิ่มขึ้น
เมื่อเทียบกับทรวงอก (OF circumference > C circumference
การรักษา
การรักษาด้วยยา ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide ช่วยลดการ สร้างนาหล่อสมองและไขสันหลัง ประมาณ 25-50%
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดใส่สายระบายนาในโพรงสมองออกนอกร่างกาย (ExternalVentricularDrainage,EVD,Ventriculostomy)
การผ่าตัดใส่สายระบายนาในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
โพรงสมองลงช่องท้อง(Ventriculo-peritoneal shunt)
โพรงสมองลงช่องหัวใจ(Ventriculo-atrial shunt)
โรคแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
การทำงานผิดปกติของสายระบายน้ำในโพรงสมอง(Shunt malfunction)
มีการอุดตันหรือระบายมากเกิน
การติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง(Shunt infection)Epidermidis
การอุดตันสายระบายน้ำในโพรงสมอง(Shunt obstruction)
ภาวะโพรงสมองตีบแคบ(Slit ventricle)
การรักษา IICP
รักษาเฉพาะ:รักษาสาเหตุที่ทำให้เกิดIICPเช่นเนื้องอกการอุดกั้น ทางเดินน้ำไขสันหลัง
การรักษาเบื้องต้น กรณีมีIICPสูงอย่างเฉียบพลัน
การจัดท่านอนนอนราบศรีษะสูง 15 – 30 องศา
การให้ยาขับปัสสาวะ (Diuretic) ทางหลอดเลือดดำ
Furosemide
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนเเรง
อาการสำคัญ
มีก้อนที่หลัง หรือที่หน้าผาก ขาอ่อน แรงทั้งสองข้าง ปัสสาวะ อุจจาระ ตลอดเวลา
นึกถึง Congenital Spina bifida occulta Meningocele Meningomyelocele
ไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
Spina Bifida
Spina bifida occulta
ผิดปกติกระดูกสันหลังส่วน Vetebral arches ไม่รวมตัวกัน
Spina bifida cystica
ผิดปกติของการปิดของส่วนโค้งกระดูกสันหลัง ทาให้มีการยื่นของไขสันหลัง หรือเยื่อหุ้มสมองผ่านกระดูกออกมาให้เห็นเป็น ถุงหรือก้อน
Meningocele
ก้อนหรือถุงน้ำประกอบไปด้วยเยื่อหุ้มสมอง น้ำไขสันหลัง ไม่มีเนื้อเยื่อประสาทไขสันหลัง ไขสันหลังอยู่ตาแหน่งปกติ ไม่ เกิดอัมพาต
Myelomeningocele หรือ Meningomyelocele
กระดูกสันหลังผิดปกติ มีก้อนยื่นออกมา ก้อนหรือถุง มีเยื่อหุ้มสมอง น้ำไขสันหลังและไขสันหลัง พบบ่อย อันตรายและเกิดความพิการ ความรุนแรงขึ้นกับตำแหน่ง พบระบบการขับถ่ายผิดปกติ เท้าปุก การหดรังของข้อ สมอง บวมน้ำ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
มารดาไม่ได้รับกรดโฟลิคขณะตั้งครรภ์ , ได้ยากันชัก ประเภท Valporic acid
การตรวจร่างกาย
แขนขาอ่อนแรง พบก้อนหรือถุงตามแนวกระดูก สันหลัง
การตรวจพิเศษ
การตรวจระดับ alpha fetoprotein ขณะตั้งครรภ์ ผิดปกติ อาจมี myelomeningocele ต้องตรวจน้ำคร่ำซ้ำ , CT , พบความ ผิดปกติ , ใช้ไฟฉายส่องบริเวณก้อนหรือถุง (transillumination test) แยกเพราะ meningocele จะโปร่งใสไม่มีไขสันหลังอยู่
การรักษา
Spida bifida occulta ไม่จำเป็นต้องรักษา
ชนิด Cystica ต้องผ่าตัดภายใน 24-48 ชั่วโมงหลังผ่าตัด
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
สมองพิการ Cerebral palsy
กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
Splastic quadriplegia
ความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขา
ทั้ง 2 ข้าง คอและลำตัวอ่อนผิดปกติ ศีรษะเล็ก น้ำลายไหล
Splastic diplegia
ความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง 2
ข้าง ขาเป็นมากกว่าแขน
plastic hemiplegia
ผิดปกติที่แขนขาซีกใดซีกหนึ่ง
Extrapyramidol cerebral palsy (athetoidsis)
การ
เคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น บังคับส่วนต่างๆของ ร่างกายให้ไปในทิศทางที่ต้องการไม่ได้ กล้ามเนืออ่อนปวกเปียก
Ataxia cerebral palsy
มีเดินเซ ล้มง่าย กล้ามเนือตึงตัว น้อย ทรงตัวได้ไมดี สติปัญญาปกติ
Mixed type
อาการและอาการแสดง
การเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า โดยเฉพาะด้านการเคลื่อนไหว การทรงตัวผิดปกติ
ปัญญาอ่อน
อาการอื่นๆ ร่วม เช่น ชัก หูหนวก ตาบอด การรับรู้ผิดปกติปัญหาด้านการพูด
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ
มารดามีการติดเชื้อขณะคลอด เช่น เป็นหัดเยอรมัน คลอดท่าก้น
เด็กมีพัฒนาการช้ากว่าวัย
ประเมินร่างกาย
เส้นรอบศีรษะไม่เพิ่มขึ้น ท่าทางการเคลื่อนไหวผิดปกติ
พัฒนาการไม่เป็นไปตามวัย
เป้าหมายการพยาบาลเด็กไม่รู้สึกตัว
ดูเเลทางเดินหายใจหายโล่ง
แรงดันภายในสมองไม่เพิ่ม
ดูแลเรื่องกิจวัตรประจำวัน