Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดเฉียบพลัน(Precipitate labor) - Coggle Diagram
การคลอดเฉียบพลัน(Precipitate labor)
ความหมาย
การคลอดที่เกิดขึ้นเร็วผิด ใช้เวลาทั้งหมด ประมาณ3 ชม. หรือใช้เวลาทั้งหมดในการคลอดประมาร 2-4 ชม. และมีการเปิดขยายของปากมดลูกในระยะปากมดลูกขยายเร็ว 5 ซม./ชม. ในผู้คลอดแรก(1 ซม. ทุก12 นาที)และมากกว่า 10 ซม./ชม.ในผู้คลอดครรภ์หลัง (1 ซม. ทุก6นาที) ซึ่งเป็นผลจากแรงต้านทานของเนื้อเยื่อที่หนทางคลอดไม่ดี ความผิดปกติของมดลูกที่แรงมาก
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
อาจเกิดภาวะน้ำคร่ำอุดตัว
มดลูกแตกจากมดลูกหดรัดตัวรุนแรง
ตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากมีเลือดออกจากแผล และระยะหลังคลอดกล้ามเนื้อมดลูกอ่อนล้าจึงหดรัดตัวไม่ดี
เกิดการคั่งของเลือดใต้ชั้นผิวหนังที่ฉีกขาด
มีการติดเชื้อที่แผลฉีกขาด
อาาจเกิดมดลูกปลิ้นเนื่องจากความดันในโพรงมดลูกลดลงอย่างรวดเร็ว
เนื้อเยื่อบริเวณช่องทางคลอดเกิดการฉีกขาด
ต่อทารก
สายสะดือขาดเนื่องจากสายสะดือสั้นหรือรกยังไม่ลอกตัว
ถ้าคลอดออกมาทั้งถุงน้ำคร่ำ (Caul delivery) ทารกอาจสำลักน้ำคร่ำได้ซึ่งมักพบในทารกที่ อายุครรภ์น้อย
ทารกได้รับบาดเจ็บเนื่องจากการกระทบกระแทกเพราะการช่วยคลอดไม่ทัน
ทารกอาจเกิดการติดเชื้อเนื่องจากไม่ได้เตรียมทำความสะอาดก่อนคลอด
ภาวะขาดออกซิเจน (Asphyxia)
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ภาวะ Erb'palsy
ถ้าให้การช่วยเหลือช้า ทารกอาจเกิิดภาวะหนาวสั่นหรือการช่วยฟื้นคืนชีพช้าทำให้เสียชีวิต
เลือดออกในสมอง (Subdural hemorrhage)
อาการและอาการแสดง
มดลูกมีการหดรัดตัวอย่างถี่และรุนแรง มากกว่า5 ครั้งในเวลา 10 นาที
ตรวจภายในพบปากมดลูกมีการเปิดขยายเร็ว ครรภ์แรกปากมดลูกเปิด 5ซม./ชม. ครรภ์หลังปากมดลูก 10ซม.หรือมากกว่า 10 ซม./ชม.
มีอาการเจ็บครรภ์เป็นอย่างมาก
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกติโดยเกิดขึ้นเองหรือจากการให้ยาเร่งคลอดมากผิดปกติ
ผู้คลอดครรภ์หลัง เนื้อเยื่อต่างๆมีการยืดขยายมาก จึงทำให้ส่วนต่างๆ ได้แก่ คอมดลูกพื้นเชิงกรานช่องคลอดและฝีเย็บหย่อนตัว
แรงต้านทานของเนื้อเยื่อที่ช่องคลอดไม่ดี
ผู้คลอดที่มีเชิงกรานกว้าง
เคยมีประวัติการคลอดเฉียบพลัน
ผู้คลอดไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดจากการคลอดหรือไม่รุ้สึกอยากเบ่งซึ่งพบได้น้อยมาก
ทารกตัวเล็กหรืออายุครรภืน้อยกว่ากำหนดทำให้เคลื่อนต่ำลงมาได้ง่าย
ผู้คลอดที่ไวต่อการได้รับยากระตุ้นการหดรัดของมดลูก
การประเมินสภาพ
2.การตรวจร่างกาย
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ ร่วมกับการ monitor
การตรวจภายใน
3.ภาวะจิตสังคม
การซักประวัติ
การวินิจฉัย
ระยะเวลาในการเจ็บครรภ์และคลอดน้อยกว่า 3ชม.
มีการหดรัดตัวของมดลูกถี่และรุนแรง มีการหดรัดตัวทุก 2นาทีหรือบ่อยกว่านั้นและระยะเวลาของการหดรัดตัวของมดลูกนานมากกว่า 90 วินาที หรือไม่มีการคลายตัวในระยะที่ควรเป็นระยะพัก
อัตราการเปิดขยายของปากมดลูก เปิดมากกว่า 5 ซม./ชม. ในครรภ์แรกและเปิดมากกว่า 10 ซม./ชม. ในครรภ์หลัง
ความดันภายในดพรงมดลูกประมาณ50-70 มิลลิเมตรปรอท
การรักษา
การให้ยา
การผ่าตัดคลอด
ให้การดูแลตามอาการ
การพยา่บาล
2.ใหห้การดูแลตามอาการ
ใช้ผ้าสะอาดกดบริเวรฝีเย็บพร้อมทั้งใช้มืออีกข้างกดศีรษะทารกให้ก้มลงก่อนที่ศีรษะทารกจะคลอด
ในกรณีที่มารดาไม่สามารถหยุดเบ่ง และศีรษะทารกคลอดออกมาแล้วให้กางขามารดาออก
กระตุ้นให้มารดาใช้เทคนิคการหายใจแบบตื้นๆเร็วๆเบาๆเข้าออกทางปากและจมูกเพื่อควบคุมไม่ให้มารดาเบ่งเร็ว
จับให้ทารกนอนศีรษะต่ำ ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่งและดุดน้ำคร่ำในปากและจมุกทารกออก
4.แนะนำการรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์และดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
1.มารดาที่มีประวัติการคลอดเร็วต้องระมัดระวังในการให้การพยาบาล
ประเมินการเปิดขยาย และความบางของปากมดลูกเมื่อมารดาอยากเบ่ง
พิจารณาย้ายมารดาเข้าห้องคลอดในมารดาที่มีประวัติการคลอดเร็วควรย้ายเข้าห้องคลอดเมื่อปากมดลูกเปิด 5ซม.
ประเมินและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูกและฟังเสียงหัวใจของทารกในครรภ์ ทุก30 นาที
3.ระยะหลังคลอดให้การดูแลอย่างใกล้ชิด