Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับกล้ามเนื้อและกระดูก, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 8 -…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับกล้ามเนื้อและกระดูก
:pen:โรคกระดูกอ่อน (Ricket) :pen:
พบได้มากในเด็กอายุ 6 เดือน –3 ปี จากการขาดวิตามินดี โรคไตที่ท้าให้เกิดความผิดปกติของการจับเกาะเกลือแร่ที่กระดูกอ่อน ท้าให้เกิดความผิดปกติของเนื้อกระดูก ท้าให้กระดูกหักง่าย ผิดรูปมีผลต่อพัฒนาการเด็ก
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของล้าไส้
โรคไตบางชนิดท้าให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟต เช่น Renal Tubular Insufficiency และ Chronic renal Insufficiency
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
ภาวะฟอสเฟตต่้า (Hypophosphatasia) จากขาด Alkaline Phosphatase ซึ่งเป็นตัวส้าคัญที่ท้าให้เกิดการจับเกาะของเกลือแร่
อาการและอาการแสดง
ในเด็กเล็ก ความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง หลังแอ่น ขวบปีแรกเด็กจะมีความผิรูปได้แก่ กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า ส่วนหลังของกะโหลกศีรษะแบนราบลงด
การรักษา
การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
แบบประคับประคอง ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
การป้องกัน
-ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
-การรับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม
ให้วิตามินดี 200 หน่วยต่อวันต่อน้้าหนักตัวส้าหรับเด็กคลอดก่อนก้าหนด
ให้ออกก้าลังกายกระตุ้นการสร้างของกระดูก
ระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม เช่น ยากันชัก ยาลดกรด ยาเตรทตราชัยคลิน ยาระบาย ยาขับปัสสาวะ
:pen:มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma):pen:
พบในเด็ก >ในผู้ใหญ่ พบในเพศชาย > เพศหญิง พบร้อยล่ะ 5 ของโรคมะเร็งในเด็ก
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
น้้าหนักลด
มีไข้
การเคลื่อนไหวของต้าแหน่งที่เป็นผิดปกติ รับน้้าหนักไม่ได้ มักมีประวัติการเกิดอุบัติเหตุ
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้น ๆ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : ระยะเวลาการมีก้อนเนื้องอก อาการปวด การเคลื่อนไหว
การตรวจร่างกาย : น้้าหนัก ต้าแหน่งของก้อน การเคลื่อนไหว ต่อมน้้าเหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : MRI , CT เพื่อดูการแพร่กระจายของโรค หาระดับอัลคาไลน์ฟอสฟาเตส
(ALP) และระดับ แลคเตส ดีไฮโดรจิเนส (LDH) มีค่าสูงขึ้น
การรักษา
จุดมุ่งหมายหลักของการรักษา คือ “ การตัดก้อนมะเร็งออกให้หมด ป้องกัน การแพร่กระจายของโรค ”
เคมีบ้าบัด
รังสีรักษา
การผ่าตัด
การพยาบาล
ไม่สุขสบายจากการปวดแผลผ่าตัดและปวดหลอน (Phantom pain)บริเวณแขน/ขา ที่ถูกตัด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของกระดูกที่ท้าการผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากเคมีบ้าบัดและรังสีรักษา
มีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการรักษาพยาบาล
:pen:ฝ่าเท้าแบน (Flat feet) :pen:
ฝ่าเท้าของคนปกติเมื่อยืนจะมีช่องใต้ฝ่าเท้าเราเรียกarch ในเด็กเล็กจะไม่มี ซึ่งจะเริ่มมีตอนเด็กอายุ 3-10 ปี ถ้า
โค้งใต้ผ่าเท้าไม่มีเราเรียกเท้าแบนหรือ flat feet
อาการ
• อาการขึ้นกับความรุนแรงของความแบนราบ
• ผู้ป่วยอาจจะมีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าจะหนาผิดปกติ
• รองเท้าผู้ป่วยจะสึกเร็ว
• ปวดฝ่าเท้า
• ในรายที่แบนรุนแรงผู้ป่วยจะมีอาการปวดน่อง เข่า และปวดสะโพก
สาเหตุ
• เป็นพันธุกรรมในครอบครัว
• เกิดจากการเดินที่ผิดปกติเช่นการเดินแบบเป็ดคือมีการบิดของเท้าเข้าข้างใน
• เกิดจากเอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
• โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาจจะใช้ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
:pen:Gastroschisis:pen:
เป็นความผิดปกติแต่ก้าเนิดเกิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังท้องภายหลังจากผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์แล้วเกิดการแตกทะลุของ hermia of umbilical cord ก่อนทารกคลอด ก่อนรูสะดือปิด มักแตกด้านซ้ายของขั้วสายสะดือ
การวินิจฉัย
เมื่อคลอดพบว่าที่หน้าท้องทารกจะพบถุงสีขาวขุ่นบาง ขนาดต่าง ๆ กัน สามารถมองเห็นขดล้าไส้หรือตับผ่าน
ผนังถุงอาจมีส่วนของถุงบรรจุ wharton’s jelly สายสะดือติดอยู่กับตัวถุง ขนาดที่พบตั้งแต่ 4 – 10 cm
การพยาบาล
การคลอดและการนำส่งโรงพยาบาล
– Incubator หรือ ผ้าอุ่น กระเป๋าน้้าร้อน
– การประเมินการหายใจ เตรียม endotrachial tube, suction
– ใส่ orogastric tube ปลายเปิดลงถุง
– Rectal irrigation ด้วย NSS อุ่น
– เริ่มให้antibiotic ได้ทันทีการให้เลือด
– ตรวจระดับ น้้าตาล เกลือแร่ในกระแสเลือดเจาะเลือดแม่เพื่อเตรียมท้าการจองเลือด เผื่อว่าต้องท้า
การพยาบาลหลังการผ่าตัด (Nursing postoperative care)
Respiratory distress : ใส่ endotrachial tube และให้muscle relaxant 1-2 วัน หลังผ่าตัด
Hypothermia : ต้องให้เด็กอยู่ในตู้อบ (incubator) ปรับอุณหภูมิตามตัวเด็ก
Hypoglycemia, Hypocalcemia : สังเกตว่าเด็กจะมี tremor, cyanosis หรือ convulsion รายที่มี
hypocalcemia อาจจะเกิด periodic apnea
General care จัดท่านอนหงาย , สังเกตการหายใจ , การขับถ่าย , ตรวจดูว่ามี discharge ออกมาจากแผล ,swab culture
:pen:Osteomyelitis:pen:
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย,เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอก หรือจากอวัยวะ
ใกล้เคียง การแพร่กระจายจากกระแสเลือด
การวินิจฉัย
1.ประวัติ มีอาการปวด เด็กเล็กแสดงออกโดยไม่ใช้แขน ขา ส่วนนั้นทารกนอนนิ่งไม่ขยับแขนขาข้างที่เป็น(pseudoparalysis) เด็กโตบอกต้าแหน่งที่ปวดได้ อาการไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร อาจมีการบาดเจ็บเฉพาะที่ร่วมด้วย
การตรวจร่างกาย มีปวด บวม แดง ร้อน เฉพาะที่ บริเวณที่มีพยาธิสภาพอาจมีความผิดปกติ ปวด ปวดมาก
ขึ้นถ้ากดบริเวณนั้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผล CBC พบ Leucocytosis , ESR , CRP มีค่าสูง ผล Gram stain และculture ขึ้นเชื้อที่เป็นสาเหตุ
การตรวจทางรังสี
Plain flim พบเนื้อเยื่อส่วนลึกบวม โดยเฉพาะบริเวณ metaphysis
Bone scan ได้ผลบวก บอกต้าแหน่งได้เฉพาะ
MRI พบ soft tissue abcess , bone marrow edema
ค่าใช้จ่ายสูง ในเด็กเล็ก ๆ ต้องท้าตอนเด็กหลับ
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
อาการแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
กระทบต่อ physis เป็นส่วนเจริญเติบโตของกระดูก ท้าลาย physeal plate ยับยั้งการเจริญของกระดูกตามยาว
:pen:Club Foot (เท้าปุก) :pen:
รูปร่างของเท้าที่มีลักษณะข้อเท้าจิกลง (equinus) ส้นเท้าบิดเข้าใน (varus) ส่วนกลางเท้าและเท้าด้านหน้าบิด
งุ้มเข้าใน (adduction and cavus)
สาเหตุ
ยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชัด อาจเกิดจาก gene และปัจจัยส่งเสริม เช่น แม่สูบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์ มีอุบัติการณ์ถึง
2.4 เท่า , การติดเชื้อในครรภ์ เป็นต้น จ้าแนกได้ 2 กลุ่ม
แบบทราบสาเหตุ
1.1 positional clubfoot เกิดจาก uterus impaction affect
1.2 teratologoc clubfoot เป็นชนิดที่มีความแข็งมาก พบใน Syndrome หลายชนิดเช่น arthogryposis
multiplex congenita
1.3 neuromuscular clubfoot พบได้ทั้งแบบเป็นตั้งแต่เกิด / ภายหลัง เช่นใน cerebral palsy ,
myelomeingocele , neurological injury , other neuromuscular disease
แบบไม่ทราบสาเหตุ
(ideopathic clubfoot)หรือ Ideopatic Talipes EquinoVarus (ITCEV) พบตั้งแต่ก้าเนิด
เพศชาย: เพศหญิง = 2.5 : 1 มีความสัมพันธ์ในพันธุกรรม พบมีอุบัติการณ์เพิ่มขึ้น ในญาติพี่น้อง ในฝาแฝดถ้า
อีกคนหนึ่งเป็นอีกคนมีโอกาสร้อยละ 2.5
พยาธิสภาพ
เริ่มตั้งแต่ระยะสร้างกระดูกเท้า กลไกการสร้าง Catilage anlage ที่เป็นเนื้อเยื่อต้นแบบของกระดูกเท้าผิดปกติ
การรักษา
การดัดและใส่เฝือก
อาศัยหลักการดัดให้รูปร่างเท้าปกติ ได้ผลดีกรณีที่แข็งไม่มากมารักษาอายุน้อย ดัดใส่เฝือกเพื่อรักษารูปเท้า เปลี่ยนเฝือกทุก 1 – 2 สัปดาห์ เพราะจะหลวมรักษารูปเท้าได้ไม่ดีเพื่อให้ได้ผลดีควรใส่เฝือกตั้งแต่แรกเกิด
การผ่าตัด
รายที่เนื้อเยื่อมีความแข็งกระดูกแข็งผิดรูป ไม่สามารถดัดโดยใช้แรงจากภายนอกท้าให้รูปเท้าดีขึ้น
2.1 การผ่าตัดเนื้อเยื่อ (subtalar soft tissue release)
2.2 การผ่าตัดกระดูก (osteotomy)
2.3 การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก ก(triple fusion)
:pen:Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis :pen:
วัณโรคกระดูกและข้อในเด็กพบร้อยละ 4 ของการติดเชื้อวัณโรคปอด วัณโรคปอดพบร้อยละ 25 ของวัณโรคในเด็กที่อายุต่้ากว่า 15 ปี และวัณโรคกระดูกสันหลัง (spinal tuberculosis) พบประมาณครึ่งหนึ่งของวัณโรคกระดูกและข้อทั้งหมด
ตำแหน่งที่พบบ่อย
ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ จากการไอ จาม ของผู้ป่วย เชื้อเจริญเติบโตและแพร่กระจายผ่านทาง lympho- hematogenous spread ยังอวัยวะต่าง ๆ และจะถูกระบบภูมิต้านทานของร่างกายท้าลายแต่อาจมีเชื้อบางส่วนที่อยู่ตามอวัยวะต่าง ๆ จะลุกลามเมื่อมีปัจจัยเหมาะสม
ลักษณะทางคลินิก
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้้าหนักลด มีไข้ต่้าๆ ตอนบ่ายหรือเย็น ต่อมน้้าเหลืองโต ประวัติใกล้ชิดกับผู้ที่เป็นวัณโรค มีปวดข้ออาการขึ้นกับต้าแหน่งที่เป็น เช่น ที่ขาจะปวดขา เดินกะเผลก ข้อยึด กระดูกสันหลัง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC อาจพบ WBC ปกติหรือสูงไม่มาก ค่า CRP , ESR สูง ทดสอบ tuberculin test ผล +
การตรวจทางรังสี
plaint film , MRI
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อ การผ่าตัดระบายหนอง ผ่าตัดเพื่อแก้การกดทับเส้นประสาท