Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะขาดออกซิเจน Birth asphyxia หรือperinatal, image, image - Coggle…
ภาวะขาดออกซิเจน
Birth asphyxia หรือperinatal
ภาวะที่ทารกแรกเกิดไม่สามารถหายใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การพยาบาล💉💉
🌡เตรียมทีมบุคลากร เครื่องมือให้พร้อมก่อนคลอด ในรายที่มารดามีภาวะเสี่ยงหรือมีอาการแสดงที่น่าสงสัยว่า จะเกิด asphyxia
🌡ดูดสิ่งคัดหลั่งให้มากที่สุดก่อนคลอดลำตัว
🌡เช็ดตัวทารกใหแห้งทันที ทีหลังคลอดและห่อตัวรักษาความอบอุ่นของร่างกาย เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
🌡บันทึกอัตราการหายใจ การเต้นของหัวใจทารกภายหลังคลอด
🌡สังเกตอาการขาดออกซิเจน เช่น ริมฝีปากและปลายมือปลายเท้าซีด เขียว หายใจปีก จมูกบาน หายใจออกมีเสียงคราง หน้าอกบุ๋ม หรืออาการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ เพื่อให้การช่วยเหลือและปรึกษาแพทย์ต่อไป
🌡ดูแลให้ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการและได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์
🌡ดูแลให้ได้รับอาหารและสารน้ำ ตามแผนการรักษาของแพทย์
🌡ดูแลความสะอาดของร่างกาย
🌡ดูแลให้พักผ่อน
🌡ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
ขาดสมดุลของการแลกเปลี่ยนก๊าซ
มีระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ hypoxia
มีการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์hypercapnia
มีสภาพเป็นกรดในกระแสเลือด metabolic acidosid
พยาธิสภาพ🦄🦄
มีปริมาณออกซิเจนนกระแสเลือด น้อยกว่า 40 mmHg
ทารกเกิดการปรับตัวทำให้เลือดไปเลี้ยงสมอง หัวใจและต่อมหมวกไตเพิ่มขึ้น และไปเลี่ยงอวัยวะอื่นๆมีเลือดไปเลี้ยงน้อยลงทำให้มีอาการเขียวปลายมือปลายเท้า
หายใจแบบขาดอากาศ (gasping) ประมาณ 1 นาที
หายใจไม่สม่ำเสมอและหัวใจมีการเต้นที่น้อยลง
✨ถ้าได้รับการแก้ไข้โดยให้ออกซฺเจนหรือกระตุ้นให้ทารกร้อง
--ทารากสามารถกลับเข้าสู่ภาวะปกติได้
✨ถ้าไม่ได้รับการแก้ไข้--ทารกจะหยุดหายใจครั้งแรก primary apnea
หายใจไม่สม่ำเสมอประมาณ 4-5 นาที secondary apnea
หยุดหายใจอย่างถาวร
metabolic acidosis
1 more item...
หากไม่มีการช่วยเหลือหรือใส่ท่อช่วยหายใจ
คาร์บอนไดออกไซดฺเพิ่มมากขึ้น กลไกในร่างกายของทารกยังปรับตัวไม่ได้กับอุณหภูมิภายนอกจึงมีการเคลื่อนไหวทำให้มีการเผาผลาญพลังงานภายในร่างกาย
1 more item...
กลไกการเกิด⚡⚡
มีการไหลเวียนเลือดทางสะดือขัดข้อง มีการหยุดไหลเวียนหรือไหลเวียนลดลง
สายสะดือถูกกดทับขณะเจ็บครรภ์หรือขณะคลอด
ไม่มีการแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่รก
abrubtion placenta
placenta infarction
มีการนำออกซิเจนหรือสารอาหารจากมารดาไปยังทารกโดยผ่านทางรกไม่เพียงพอ
ปอดทารกขยายไม่เต็มที่มีการไหลเวียนเลือด เป็นแบบทารกในครรภ์ไม่สามารถพัฒน่เป็นแบบผู้ใหญ่
มีทางเดินหายใจอุดตัน
มีน้ำคั่งในปอด
อาการและอาการแสดง🎀🎀
เคลื่อนไหวน้อยลง น้อยลงกว่าปกติ
ฟังอัตตราการเต้นหัวใจของทารก มากกว่า 160 ครั้ง/นาที ในช่วงแรก เเละเริ่มลดลง จาก base line ในช่วงถัดมา
พบขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
มีคะแนน APGAR score ต่ำกว่า 7
ตัวเขียว ไม่หายใจเอง ตัวนิ่ม อ่อนปวกเปียก ปฏิกิริยาตอบสนอต่อสิ่งกระตุ้นลดลง หัวใจเต้นช้า
การทำงานของเซลล์ปอดเสียไป ทำให้ทารกมีอาการหายใจหอบ ตัวเขียว
ระบบหัวใจและการไหลเวียนเลือดหัวใจเต้นเร็ว ผิวซีด หายใจแบบgasping มี metabolism acidosis อุณหภูมิร่างกายต่ำ ความดันโลหิตต่ำ
ระบบประสาท ทารกจะซึม หยุดหายใจบ่อย หัวใจเต้นช้าลง ม่านตาขยายกว้างไม่ตอบสนองต่อแสง ไม่มี Dolls eye movement และมักเสียชีวิต
การวินิจฉัย💊💊
ประวัติการคลอด
การตรวจร่างกาย การประเมินคะแนน APGAR จะพบการเปลี่ยนแปลงตามลำดับ ดังน้ี
สีผิว
อัตราการหายใจ เริ่มจากไม่สม่า เสมอไปจนหยดุ การหายใจ
การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ
การตอบสนองเมื่อถูกกระตุ้น
อัตราการเต้นของหัวใจ
อาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา🔎🔎
*mild asphyxia ให้ความอบอุ่น ทำทางเดินหายใจให้โล่ง กระตุ้นการหายใจ
*moderate asphyxia ให้ออกซิเจน 100 % แลช่วยหายใจด้วย maskและbag เมื่อดีขึ้นจึงใส่ Feeding tube เข้ากระเพาะอาหารเพื่อดูดลมออก ถ้าไม่ดีขึ้นหลังช่วยหายใจนาน 30 วินาที ใส่ ET tube และนวดหัวใจ
*severe asphyxia ให้การช่วยเหลือโดยช่วยหายใจทันทีที่คลอดเสร็จ โดยใส่ ET tube และช่วยหายใจด้วยออกซิเจน 100% ผ่าน ร่วมกับการนวดหัวใจ ถ้าไม่ดีขึ้นจึงรักษาด้วยยา
🍀🍀การให้ความอบอุ่น ป้องกันภาวะตัวเย็น
🍀🍀ทำทางเดินหายใจให้โล่ง
📌กรณีไม่มีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ ใช้ลูกสูบยางแดงดูดสิ่งคัดหลั่งในปากก่อนแล้วจึงดูดในจมูก
📌กรณีมีขี้เทาปน ไม่ว่าจะมีขี้เทาใสหรือขุ่น ข้นปนในน้ำคร่ำ ต้องรีบดูดขี้เทาออกทันทีที่ศีรษะทารกคลอด โดยใช้สายดูดเสมหะเบอร์ 12F-14F หรือใช้ลูกสูบยางแดง แล้วจึงทำคลอดลำตัวทารกไม่หายใจ ตัวอ่อนหัวใจเต้น ช้ากว่า 100คร้ัง/นาทีใส่endotracheal tube ดูดขี้เทาออกจากคอหอยและหลอดคอให้มากที่สุด
🍀🍀การกระตุ้นทารก(tactile stimulation)การเช็ดตัวและดูดเมือกจากปากและจมูกสามารถกระตุ้น ทารกให้ายใจได้อย่างดี
ถ้าทารกยังไม่ร้องหรือหายใจไม่เพียงพอให้ลูบบริเวณหลัง หน้าอก ดีดส้นเท้าทารก
🍀🍀การให้ออกซิเจนในทารกที่มีตัวเขียว อัตราการเต้นของหัวใจช้า หรือมีอาการหายใจล าบากให้ออกซิเจน 100% ที่ผ่านความชื้นและอุ่น ผ่านทาง mask หรือท่อให้ออกซิเจนโดยใช้มือผู้ให้ทำเป็นกระเปาะ เปิดออกซิเจน 5ลิตร/นาที โดยให้ใกล้จมูกทารกประมาณ 1 นิ้ว เพื่อให้ได้ความเข้มข้นของออกซิเจนสูงสุด
🍀🍀 การช่วยหายใจ(ventilation)การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก โดยใช้mask และ bag มีข้อบ่งชี้
หยุดหายใจหรือหายใจแบบ gasping
อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100 ครั้ง/นาที
**เขียวขณะได้ออกซิเจน 100%
ลักษณะที่ดีของทารกเมื่อมีการช่วยเหลือ📖📖
อัตราการเต้นของหัวใจทารก
การตอบสนองเมื่อถูกกระตุ้น
ลักษณะสีผิว
อัตราการหายใจ
การเคลื่อนไหวของกลา้มเน้ือ