Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กมีปัญหากล้ามเนื้อ, นางสาวนารีรัตน์ ตั้งใจธรรม 2A เลขที่43…
การพยาบาลเด็กมีปัญหากล้ามเนื้อ
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
โรคแทรกซ้อนชนิดหนึ่ง ที่ท าให้แขน มือ และนิ้วหงิกงอ ได้แก่ Volkmann’ s ischemic contracture ซึ่งพบมากในผู้ป่วย ที่มีกระดูกหักบริเวณ supracondylar of humerus และในผู้ป่วย ที่มีfracture both bone of forearm
ลักษณะรูปร่างของนิ้ว มือ และแขนใน Volkmann’s ischemic contracture
แขนอยู่ในท่าคว่ำมือ (pronation)
ข้อศอกอาจจะงอ
ข้อมือพับลง (palmar flemion)
ข้อ metacarpophalangeal กระดกขึ้น หรือมี extension
นิ้วจะงอทุกนิ้ว
อาจมีอัมพาต ถ้า median nerve หรือ ulnar nerve ถูกทำลาย
กล้ามเนื้อแขนลีบแข็ง
ข้อเกือบทุกข้อจะแข็ง บางรายอาจจะกระดิกได้
กล้ามเนื้อมือลีบ เหมือนกับมีอัมพาต
สาเหตุ
ปลายกระดูกหักชิ้นบน เช่นในรายที่มีการเคลื่อนของกระดูกมาก
เลือดแข็งจับกันเป็นก้อน
งอพับข้อศอกมากเกินไป ในขณะที่บริเวณนั้นยังบวมอยู่
จากการเข้าเฝือกอาการบวมขึ้นขึ้นเต็มที่ แต่เฝือกขยายออกไม่ได้ เฝือกคับ ทำให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวก
ระยะ
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อ บวม ตึง แข็ง และมีสีคล้ำ เนื่องจากมีเลือดปะปนอยู่ ผิวหนังพอง
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว การหดตัวเกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อ Pronator และ flexor ของแขน มือ และนิ้วหงิกงอ ใช้การไม่ได้
ระยะเริ่มเป็น :
-มีบวม เห็นได้ชัดที่นิ้ว
-เจ็็บ และปวด
-นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้ การบวมทำให้นิ้วแข็ง
-สีของนิ้วจะขาวซีด หรืออาจจะเป็นสีคล้ำ แต่นิ้วยังคงอุ่นอยู่
-มีอาการชา
-ชีพจร คำไม่ได้ชัดหรือไม่ได้
การป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุดขณะที่หักเกิดขึ้นใหม่ ๆ
อย่างอข้อศอกมากเกินไปขณะที่ใส่เฝือก จะงอได้มากแค่ไหนควรใช้การจับชีพจร ต้องงอพอที่จะจับชีพจรได้เสมอ
ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพันดด้วยผ้าพันธรรมดา การใช้ slab จะำให้เฝือกขยายตัวได้ ยังไม่ควรใส่ circular cast
การปฏิบัติตัวหลังเข้าเฝือก
ยกบริเวณที่หักให้สูงกว่าระดับหัวใจตลอดเวลา 2-3 วัน หรือจนยบุบวม
ถ้ามีอาการบวมมาก และมีอาการเจ็บปวด แสดงว่าเฝือกรัดเส้นโลหิตทำให้เลือดเดินไม่สะดวก ควรรีบปรึกษาแพทยท์นัที
ถ้าเกิดอาการปวด บวม หรือชา รีบปรึกษาแพทยเ์พื่อตัดเฝือกออกทันที
โรคคอเอียงแต่กำเนิด
(Congenital muscular Torticollis)
อาการ
คลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อย ๆ ยุบลงไป การปล่อยให้มีภาวะคอเอียงอยู่นานจะส่งผลให้กะโหลก ศีรษะ ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง ศีรษะบิดเบี้ยว
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ลักษณะของผู้ป่วย ซักประวัติ
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
• ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่หดสั้น ได้ผลดีเมื่อท าในเด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง (active streth) โดยหาวิธีการให้ เด็กหันหน้ามาด้านที่คอเอียงที่มีกล้ามเนื้อหดสั้น เช่น การให้นม หาวัตถุล่อให้มองตามจากของเล่นต่าง ๆ จัดท่าขณะนอนหลับ
การใช้อุปกรณ์พยงุ (orthosis) ปรับตำแหน่งศีรษะ
การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch) จัดท่าให้นอนหงายจัดให้หู ข้างตรงข้ามกับกล้ามเนื้อหดสั้นสัมผัสกับไหล่ข้างเดียวกัน หรือหัน หน้าจัดให้คางสัมผัสกับไหล่ข้างที่กล้ามเนื้อหดสั้น
การผ่าตัด ถ้ายืดกล้ามเนื้อที่หดสั้นไม่ได้ผลภายหลังอายุ 1 ปี ควรรับการรักษา โดยการผ่าตัด อายุที่เหมาะสม ในช่วงอายุ 1 – 4 ปี การผ่าตัด bipolar release ตัดปลายเอ็นยึดเกาะของกล้ามเนื้อด้าน คอทั้งสองปลาย หลังผ่าตัดอาจต้องใช้อุปกรณ์พยุงคอ และต้องยืด กล้ามเนื้อเพื่อให้คอตรงและป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
ภาวะแทรกซ้อน
เกิดความเจ็บปวดและความยากง่ายกบัการสวมใส่รองเท้า, การรับรองการแก้ไข ศัลยกรรมที่ตามมา แก้ไขด้วย capsulorrhaphy และตรึง K - wire ท ี่MTP ร่วม metatarsal osteotomy ผ่าตัดและมีความเสี่ยงในการพัฒนา MTP subluxation ร่วมหรือความผิดปกติเชิงมุม และ deformities การตกค้างของหัว metatarsal อาจเป็นปัญหาในอนาคตหรือความผิดปกติ
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
การมีกระดูกสันหลังคดไปด้านข้างร่วมกับมีการหมุนของปล้อง กระดูกสันหลัง เกิดความพิการทางรูปร่างและผิดปกติของทรวงอกร่วม ด้วย ถ้าหลังคดมากทรวงอกก็จะผิดปกติมากขึ้นด้วย มีอาการซีด สมรรถภาพทางกายเสื่อม มีความผิดปกติขอระบบ ทางเดินหายใจ และหัวใจ ถ้าไม่ได้รับการรักษาจะเกิดความผิดปกติ มากขึ้น และอาจทำให้เสียชีวิตเร็ว
การวินิจฉัย
การซกัประวัติ : การผ่าตัด ความพิการของกระดูกสันหลัง
การตรวจร่างกาย : สังเกตความพิการ ส่วนสูง น้ำหนักตัว แนวลำตัว
การตรวจทางหอ้งปฏิบตัิการพิเศษอื่น ๆ : X-Ray
อาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน สะบักไม่อยู่ระดับเดียวกันคือไหล่ข้างหนึ่งสูงกว่าอีกข้าง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด หายใจตื้น หายใจลึกทำได้ยาก
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวล าตัว ความจุในทรวงอกสองข้างไม่เท่ากัน
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนาส่วนด้านโค้งออกจะฝ่อลีบและบาง
ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน
มีอาการปวดเมื่อหลังคดมาก ในเด็กอาจพบไม่บ่อย
เริ่มมีอาการเมื่ออายุน้อยยิ่งมีความพิการมาก กระดูกสันหลัง ส่วนเอวคดมีพยากรณ์โรคดีกว่ากระดูกสันหลังคด
การรักษา
1.ป้องกันไม่ให้โรคเป็นมากขึ้น
2.แก้ไขหรือลดความพิการ
ป้องกันและลดความปวด
ปรับปรุงสมรรถภาพของปอดและหวัใจ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ใหก้ระดูกสนัหลงัมีความสมดุลและแขง็แรง
การพยาบาลบุคคลวัยเด็กที่มีภาวะสันหลังคด
(Scoliosis)
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis) คือ โรคที่ผู้ป่วยมีลักษณะของกระดูกสันหลังผิด รูป เริ่มโค้งงอไปทางด้านข้าง และหากวัดมุมส่วนโค้ง หรือที่เรียกว่ามุมที่กระดูกสัน หลังคด (Cobb angle) จะมีมากกว่า 10 องศา
ชนิดที่มีการเปลี่ยนแปลงของกระดูกสันหลงั (structural Scoliosis) มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของกระดูกสันหลงั เนื้อเยื่อรอบ ๆ กระดูกสัน หลังหรือทั้งสองอย่าง ถ้าไม่รักษาการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อและความ พิการจะเป็นไปตลอดชีวิต
1.ชนิดที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในเนื้อกระดูกสันหลัง (Non Structurial Scoliosis) ความ ผิดปกติของท่าทาง ขาสองข้างยาวไม่เท่ากัน มีการหดรั้งของข้อสะโพก หมอนรอง กระดูกสันหลังเคลื่อนทับเส้นประสาท และมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ กระดูกสัน หลังและไส้ติ่ง
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติถามเกี่ยวกับประวัติการเจ็บป่วยในอดีต ได้แก่ ประวัติการ ผ่าตัดที่เคยได้รับ ข้อมูลความพิการของกระดูกสันหลัง ประวัติท้าวแสนปมอาการปวดหลัง การมี ประจำเดือน มีขนที่รักแร้และอวัยวะเพศ
2.การตรวจร่างกาย ได้แก่ การสังเกตความพิการหลัง แนวลำตัว ความสูง น้้ำหนักตัว ความกว้างของแขน ท่านั่ง ท่ายืน ระดับไหล่ สะโพกสองข้างสูงเท่ากัน หรือไม่ ทำ Adam’ s forward bending test โดยให้ผู้ป่วยยืนเท้าชิดกัน และให้ ก้มไปด้านหน้า ใช้มือ 2 ข้างพยายามแตะพนื้ จะเห็นความนูนของหลังไม่เท่ากัน ( Rib Hump )
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การถ่ายภาพเอกซเรยท่ายืนตรงและด้านข้างตั้งแต่กระดูกทรวงอกถึงกระดูกก้นกบ ดูตำแหน่งทิศทางของการคด มุมการคด ถ่ายภาพรังสีมือเพื่อดอูายุของ กระดูกเปรียบเทียบกับอายุจริงของผู้ป่วย การตรวจสมรรถภาพของปอด (Lung funtion Test) ก่อนและหลังผ่าตัด เพื่อดูความจุปอดรวม (Total Lung Capacity) ความจุปอด Vital Capacity โดยใช้ Spirometer ความพิการยิ่ง มากจะยิ่งพบ Vital Capacity ลดลงมาก
นางสาวนารีรัตน์ ตั้งใจธรรม 2A เลขที่43 รหัส613601044