Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะตกเลือดหลังคลอด (Postpatum hemorrage), 4T - Coggle Diagram
ภาวะตกเลือดหลังคลอด (Postpatum hemorrage)
ชนิด
Early /primary PHH
การตกเลือดภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
Late /Secondary PHH
การตกเลือดที่เกิดขึ้นหลังคลอด 24 ชั่วโมงไปแล้วจนถึง 6 สัปดาห์หลังคลอด
การตกเลือดในระยะหลัง/ระยะทุติยภูมิ (Late /Secondary PHH)
ผลกระทบ
ภูมิต้านทานโรคต่ำ ติดเชื้อได้ง่าย
เกิด Necosis ของต่อมใต้สมองส่วนหน้า( Sheehan's syndrome)
ภาวะซีด อ่อนเพลีย สุขภาพทรุดโทรม
การรักษา
ได้ที่มีการติดเชื้อภายในโพรงมดลูก พิจารณาให้ยาช่วยกันหยุดรัดตัวของมดลูก ร่วมกับให้ยาปฏิชีวนะ
รายที่มีเลือดออกจากแผลภายในช่องคลอด ให้ทำความสะอาดและเย็บแผลให้เลือดหยุด ถ้าบริเวณแผยุ่ยมาก เย็บแล้วเลือดไม่หยุด อาจต้องกดไว้หรือใช้ผ้าก๊อตไว้ในช่องคลอดร่วมกับให้ยาปฏิชีวนะ
ราายที่มีเศษรกค้าง หรือมีก้อนเลือดค้างอยู่ในโพรงมดลูก ให้oxytocin แล้วทำการขูดมดลูกด้วย
การวินิจฉัย
ส่วนใหญ่พบระหว่างวันที่ 7 ถึง 14 หลังคลอด
ส่วนอาการอื่นๆคล้ายกับการตกเลือดหลังคลอดระยะแรก
อาการและอาการแสดง ได้แก่ มีเลือดออกทางช่องคลอด มักเกิดอาการภายใน 3 สัปดาห์หลังคลอด
สาเหตุ
เลือดออกจากแผลภายในช่องคลอด มักเกิดจากการติดเชื้อ
สาเหตุร่วมที่พบได้บ่อย ได้แก่ ภาวะมีเศษรกค้างในโพรงมดลูกร่วมกับการติดเชื้อภายในโพรงมดลูก
ภาวะที่ติดเชื้อภายในโพรงมดลูก มักมีไข้ น้ําคาวปลามีกลิ่นเหม็น ปวดท้องน้อย มดลูกเข้าอู่ไม่ดี
เลือดออกจากแผลของมดลูกภายหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องและมะเร็งไข่ปลาอุก มักเกิดภายหลังคลอด 4 สัปดาห์
มีก้อนเลือด หรือเศษรกค้างอยู่ภายในโพรงมดลูก มักเกิดภายในภายหลังคลอดประมาณ 1-2 สัปดาห์
การตกเลือดหลังคลอดระยะแรก/ระยะปฐมภูมิ
(Early /primary PHH)
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดง
เกิดเลือดคั่งที่เอ็นยึดมดลูก จะไม่ปรากฏเลือดไหลออกมาให้เห็นภายนอก
การฉีกขาดของหนทางคลอด เลือดเป็นสีแดงสด
การมีเลือดออกมาก ซึ่งอาจไหลออกมาให้เห็นทาวช่องคชอด หรืออาจเห็นหรือไม่มีเลือดออกให้เห็นแต่ขำอยู่ข้างใน
อาการแสดงของภาวะตกเลือด หน้าซีดชีพจรเต้นเร็ว หายใจเร็ว ใจสั่น เหงื่อออกมาก อ่อนเพลีย ความดันโลหิตต่ำ หมดสติและถึงแก่ชีวิตได้
มดลูกปลิ้น มีเลือดพุ่งออกมาให้เห็นเป็นจำนวนมาก และอาจมีลิ่มเลือดสีแดงคล้ำบนออกมาด้วย
การฉีกขาดของหลอดเลือดฝอย จะพุ่งแรงตามจังหวะของชีพจร ไหลไม่หยุด แม้มดลูกจะแข็งตัว
หากเกิดจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี เลือดจะมีสีคล้ำ ลิ่มเลือดปน หยุดไหลเมื่อมดลูกหดรัดตัวดี
หากมีเศษรกค้าง ส่วนใหญ่จะเกิดใน Primary PHH ถ้าเศษรกเล็กมากๆ ทำให้เกิด Secondary PHH
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี ระดับของมดลูกจะสูงและโตอาจถึงระดับสะดือหรือเหนือสะดือได้ กรณีที่มดลูกหดรัดตัวดีแต่ยังมีเลือดออกจากช่องคลอดมาก เกิดจากการฉีกขาดของช่องทางคลอด
ตรวจดูชิ้นส่วนของรกที่อาจค้างอยู่
โดยการตรวจรกที่คลอดแล้วอย่างละเอียด หรือการใช้มือตรวจภายในโพรงมดลูก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เพื่อหาสาเหตุการตกเลือด จากความผิดปกติในการแข็งตัวของลิ่มเลือด ได้แก่ PT, PTT, Clotting time, Platelet count
การป้องกัน
ระยะคลอด
ระวังการให้ยาแก้ปวดในขนาดที่มากเกินไป เพราะอาจเกิดผลต่อการหดรัดตัวของมดลูก
ทำคลอดในระยะที่ 2 และระยะที่ 3 อย่างถูกต้องเหมาะสม
ดูแลไม่ให้เกิดการคลอดยาวนาน
หลีกเลี่ยงการทำสูตรคณิตศาสตร์อาการอย่างยาก
ตรวจรกและช่องทางคลอดอย่างละเอียด
ระยะหลังคลอด
ในรายที่ได้รับยากระตุ้นให้เกิดการเจ็บครรภ์ อาจให้ออกซิโทซิน ต่อภายหลัง ดารคลอดอย่างน้อย 2 ชั่วโมง
กระตุ้นให้บุตรดูดนมมารดาทันทีหลังคลอด
ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง โดยกระตุ้นให้ถ่ายปัสสาวะภายใน 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
ระยะก่อนคลอด
การซักประวัติ เพื่อหาปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดPHH
การตรวจร่างกาย ค้นหาภาวะโลหิตจาง รวมทั้งแก้ไขและให้ธาตุเหล็กเสริมกับผู้ป่วยที่มาฝากครรภ์ทุกราย
สาเหตุ
Trauma (การฉีกขาดของช่องทางคลอด)
CPD ทำให้เกิดมดลูกแตกได้
การตัดฝีเย็บที่ไม่ถูกวิธี
การคลอดเร็วผิดปกติทำให้ช่องทางคลอดปรับตัวหรือขยายตัวไม่ทันเกิดการฉีกขาด
การทำคลอดและการช่วยคลอดที่ไม่ถูกต้อง การใช้สูตรที่สหรัฐการช่วยคลอดในขณะที่ปากมดลูกยังเปิดไม่หมด
มดลูกบางกว่าปกติ จากการผ่านการตั้งครรภ์และการคลอดหลายครั้ง เคยผ่าตัดเนื้องอกมดลูก เคยผ่าคลอดทางหน้าท้อง แผลฉีกขาดที่เกิดที่มดลูกอาจฉีกต่อลงมาที่ปากมดลูกและช่องคลอดได้
Tissue(รกหรือเศษรกค้างภายในโพรงมดลูก)
การมีเศษรกค้าง
ความผิดปกติของรก เช่น รกมีขนาดใหญ่ หรือรกเกาะลึกร่วมกับการทำคลอดรกผิดวิธี
การมีรกน้อย เช่น Placenta succenturiata โรคเหล่านี้ส่วนใหญ่จะลอกตัวหมด แต่ถ้าทำคลอดรกผิดวิธี จะเกิดรกค้างของนกน้อยได้
การทำคลอดรกผิดวิธี เช่น การดึงสายสะดือ การล้วงรก
การมีรกค้าง
Tone (การหดรัดตัวของมดลูก)
การใช้ยาบางชนิด เช่น ฮาโลเทนทำให้มดลูกคลายตัวได้ การให้ยาออกซิโทซิน
การคลอดยากหรือการใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
คลอดบุตรหลายครั้ง โดยเฉพาะมากกว่า 5 ครั้ง
กล้ามเนื้อมดลูกมีการยืดขยายมากผิดปกติ ได้แก่ครรภ์แฝด ทารกตัวโต
การเจ็บครรภ์คลอดที่เนิ่นนาน มีการคลอดเร็วเกินไป
ภาวะเลือดออกก่อนกำหนดจากภาวะรกเกาะต่ำ หรือรกลอกตัวก่อนกำหนด
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี (uterine atony)
การติดเชื้อของมดลูก ทำให้มีการอักเสบ บวม มีสิ่งคัดหลั่ง ส่งผลให้มดลูกหดรัดตัวไมดี
Thrombin(ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด)
โรคเลือดต่างๆ เช่น aplastic anemia, ITP
ได้รับยา anticoagulation
ภาวะเลือดแข็งตัวผิดปกติ
ประวัติโรคตับ
HELLP Syndrome
การรักษา
1.การตกเลือดก่อนคลอด
การวัดความดันโลหิต ชีพจร การหายใจ
ให้ยา oxytocin 10-20 you unit IM/IV เมื่อไหร่หน้าหรือศีรษะทารกคลอดแล้ว
ใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้ เพื่อวัดปริมาณของปัสสาวะที่ออกมา และลดสิ่งขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
ทำคลอดรกโดยวิธี Cord traction ถ้ารกไม่คลอดให้ล้วงรกภายใต้ยาระงับความรู้สึกหรือยาระงับความเจ็บปวด หรือฉีดPethidine 50 mg เข้าทางหลอดเลือดดำ
เจาะเลือดมารดาเพื่อตรวจหาระดับความเข้มข้นของเลือด พร้อมทั้งขอเลือดเตรียมไว้อย่างน้อย 2 unit
ตรวจโรคที่คลอดแล้วอย่างละเอียด
ให้ 5% D/W หรือ 5% D/NSS หรือ Ringer lactase solution (RLS) 1,000 ml.ร่วมกับ Oxytocin 10-20 unitโดยเร็ว
ครึ่งมดลูกให้หดรัดตัวตลอดเวลา
ฉีด Methergin 0.2 mg เข้าทางหลอดเลือดดำอีก ถ้าจำเป็นเพื่อกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก (ยกเว้นรายที่มีภาวะความดันโลหิตสูง)
กรณีภายหลังรกคลอดแล้ว ถ้าเลือดยังออกอยู่ให้ปฏิบัติข้อ 2 ต่อไป
2.การตกเลือดภายหลังรกคลอด
1.กรณีมดลูกหดรัดตัวไม่ดี และมีเลือดไหลตลอดเวลา
ให้ 5% D/W หรือ 5% D/NSS หรือ Ringer lactase solution (RLS) 1,000 ml.ร่วมกับ Oxytocin 10-20 unit ผสมอยู่ (กรณีที่ยังไม่ได้ให้)และขอเตรียมเลือดไว้ 2 - 4 unit
ฉีด Methergin 0.2 mg เข้าทางหลอดเลือดดำ
สวนปัสสาวะแล้วคาสายไว้ เพื่อลดการขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
เครื่องมดลูกให้หดรัดตัวตลอดเวลา
วางกระเป๋าน้ำแข็งบริเวณหน้าท้อง และคลึงมดลูกให้หดรัดตัวตลอดเวลา
2.กรณีมีการฉีกขาดของช่องทางคลอด ถ้ามดลูกหดรัดตัวดีแล้ว แต่ยังมีเลือดออกมาเรื่อยๆและสีค่อนข้างแดงสด ให้ใช้เครื่องมือถ่างขยายคลอดให้ภายในช่องคลอด และปากมดลูกได้ชัดเจน ตรวจหารอยรอยฉีกขาด บริเวณที่พบได้บ่อย คือ มีการฉีกขาด ต่อจากแผลฝีเย็บและบริเวณด้านข้างของปากมดลูกให้เย็บรอยฉีกขาดเหล่านั้นจนเลือดหยุด
กรณีทำตามข้อ 1. และ 2. แล้วเลือดยังออกเรื่อยๆ ให้ตรวจภายในโพรงล้วงมดลูก ภายใต้การดมยาสลบ โดยงดเว้นการฮาโลเทน ดูว่ามีก้อนเลือดหรือเศษรกค้างอยู่หรือไม่ ถ้ามีก็พยายามออกให้หมดหรือขูดมดลูก เพื่อให้มดลูกหดรัดตัวดียิ่งขึ้น และถ้าพบว่ามดลูกมีรอยฉีกขาดหรือทะลุให้รีบผ่าตัดเปิดช่องท้องทันที
กรณีทำตามข้อ 1. 2. และ 3. แล้วเลือดยังออกเรื่อยๆ จะให้การรักษาดังนี้
ตรวจหา Venus clotting time,clot retraction time, clot lysis
โดยเฉพาะในกรณีที่เลือดออกเป็นน้ำแข็งตัวเป็นก้อน ถ้าพบว่า Venus clotting time เกิน 15 นาที หรือมี clot lysis เกิดขึ้นในเวลา 1-2 ชม. แสดงว่าเกิดภาวะไฟบริโนเจนใน้เลือดต่ำ แก้ไขโดยให้พลาสมาสด หรือพลาสมาแช่แข็ง หรือ Cryprecipitate (1 unit มีไฟบริโนเจน 200-250 mg.)
ทำ Bimanual compression บนตัวมดลูก
ในขณะที่ยังให้ยาสลบผู้ป่วย โดยสอดกำมือขวาเข้าไปในช่องคลอด กดบริเวณ Anterior fornix และใช้มือซ้ายคลึงมดลูกบริเวณหน้าท้องให้แข็งตัวตลอดเวลา พร้อมกับโกยมดลูกมากดบริเวณกระดูกหัวเหน่าด้านหน้า เป็นการยืดuterine vessels ให้ตีบลง เพื่อลดปริมาณเลือดที่ไหลมายังตัวมดลูก กดและบีบผนังมดลูกให้เข้าหากัน ร่วมกับการคลึงมดลูกให้หดรัดตัวตลอดเวลา ซึ่งใช้เวลาในการทำนานประมาณ 30 นาทีขึ้นไป
กรณีทำตามขั้นตอนดังกล่าวแล้วเลือดไม่หยุด ควรพิจารณาฉีด Prostaglandin นิยมใช้ 2 ชนิด
Prostaglandin E2 analogue
ได้แก่ nalador ในขนาด 0.5 mg. ฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือฉีดที่ปากมดลูก อาจฉีดซ้ำทุก 10-15 นาที และให้ได้ไม่เกิน 6 ครั้ง
Prostaglandin E2 alpha
ในขนาด 0.25 mg. ฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือฉีดที่ปากมดลูก อาจฉีดซ้ำทุก 15-90 นาที และให้ได้ไม่เกิน 8 ครั้ง
ดูแลผู้ป่วยภายหลังเกิดการตกเลือดหลังคลอดอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะในระยะ 24-48 ชั่วโมงแรกหลังคลอด โดยปฏิบัติดังนี้
คำนวณหา I/O เพื่อป้องกันการให้สารน้ำมากหรือน้อยเกินไป
ให้ยาปฏิชีวนะ ประเภทครอบคลุมเชื้อได้กว้างขวาง
ตรวจหาระดับความเข้มข้นของเลือด และอาจต้องให้เลือดเพิ่มเติมถ้าจำเป็น
ให้ยาบำรุงเลือด และอาหารที่มีประโยชน์อย่างเพียงพอ
V/S : ความดันโลหิต การหายใจ ระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
หากทำตามข้อ 1 ถึง 4 แล้วยังคงมีเลือดออกอยู่เรื่อยๆ ถ้าอายุมากหรือมีบุตรเพียงพอแล้วให้ตัดมดลูกออก กรณีอายุน้อยและยังต้องการมีบุตรอีกให้ทำการผ่าตัดผูกหลอดเลือด lnternal iliac hypogastric เพื่อเก็บมดลูกไว้
ผลกระทบ
ระยะทันทีภายหลังคลอด จะมีอาการใจสั่น ซีดลง ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตต่ำ ช็อค มีการขาดออกซิเจน เกิดภาวะอวัยวะล้มเหลว ได้แก่ ไตวาย หัวใจวาย และอาจตายได้
หากเลือดออกมามากจน Anterior pituitary necrosis ขาดเลือดไปเลี้ยง ทำให้การทำงานของระบบต่อมไร้ท่อเกิดความบกพร่องขึ้น ทำให้ไม่มีน้ำนมหลังคลอด เต้านมเหี่ยว ขาดระดู และขนของอวัยวะเพศร่วง อ่อนเพลีย ขาดความสนใจสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นกลุ่มอาการที่เรียกว่า Shechan's Syndromes
ความหมาย
การเสียเลือดผ่านทางช่องคลอด ภายหลังทารกคลอดในปริมาณมากกว่า 500 ml / ร้อยละ 1 ของน้ำหนักตัวมารดา
4T