Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กมีปัญหากระดูก, นางสาวนารีรัตน์ ตั้งใจธรรม 2A เลขที่43…
การพยาบาลเด็กมีปัญหากระดูก
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
พบไดม้ากในเดก็อาย ุ6 เดือน – 3 ปี จากการขาดวิตามินดี โรคไตที่ ทำให้เกิดความผิดปกติของการจับเกาะเกลือแร่ที่กระดูกอ่อน เกิดความผิดปกติของเนื้อกระดูก กระดูกหักง่าย ผิดรูปมีผลต่อพัฒนาการเด็ก
โรคของเมตาบอลิซึมของกระดูกที่พบในเด็ก
ความบกพร่องในการจับ เกาะของเกลือแร่บนเนื้อกระดูกอ่อน
สาเหตุ
ความผดิปกติของการเผาผลาญ Vit D
ความผดิปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้ ดูดซึม แคลเซียมกลับได้น้อย ท้องเดินเรื้อรัง หรือรับประทานสารที่ขัดขวางการ ดูดซึมของแคลเซียมและวิตามินดี เช่น อะลูมิเนียมไฮดรอกไซค์ บาร์บิทูเรต
โรคไตบางชนิดทำให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและ ฟอสเฟต เช่น Renal Tubular Insufficiency และ Chronic renal Insufficiency
ภาวะฟอสเฟตต่า (Hypophosphatasia) จากขาด Alkaline Phosphatase
อาการแสดง
ในเด็กเล็ก กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า ส่วนหลังของกะโหลกศีรษะแบนราบลง หรือ กะโหลกนิ่ม หน้าผากนูน ฟันขึ้นช้า ผมร่วง หลังหนึ่งขวบแล้วจะพบความผิด รูปมากขึ้น พบขาโก่ง ขาฉิ่ง กระดูกสันหลังคดหรือหลังค่อม ท่าเดินคล้ายเป็ด อาจเกิดกระดูกหักได้
การรักษา
แบบประคับประคอง ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี การป้องกัน
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
การรับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม
ให้วิตามินดี 200 หน่วยต่อวันต่อน้ำหนักตัวสำหรับเด็กคลอดก่อนกำหด
ให้ออกกำลังกายกระตุ้นการสร้างของกระดูก
ระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม เช่น ยากันชัก ยาลดกรด ยาเตรทตราชยัคลิน ยาระบาย ยาขับปัสสาวะ
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
วณัโรคกระดูกและขอ้ในเดก็พบร้อยละ 4 ของการติดเชื้อวัณโรคปอด วณัโรคปอดพบร้อยละ 25 ของวัณโรคในเด็กที่อายุต ่ากว่า 15 ปี และวณั โรคกระดูกสันหลงั (spinal tuberculosis) พบประมาณคร่ึงหน่ึงของวณั โรคกระดูกและข้อทั้งหมด
ตำแหน่งที่พบบ่อย ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ ไอ จาม ของผู้ป่วย เชื้อเจริญเติบโตและแพร่กระจายผ่านทาง lympho- hematogenous spread ยังอวัยวะต่าง ๆ และจะถูกระบบภูมิต้านทานของร่างกายท าลายแต่อาจมี เชื้อบางส่วนที่อยู่ตามอวัยวะต่าง ๆ จะลุกลามเมื่อมีปัจจัยเหมาะสม
อาการแสดง
วัณโรคกระดูกและข้อในเด็กอาการจะเริ่มแสดงหลังการติดเชื้อประมาณ 1 – 3 ปีที่กระดูกรอยโรคเริ่มที่ metaphysis ของ long bone ซ่ึงมีเลือดมาเลี้ยงมาก อาจเป็นตำแหน่งเดียวหรือมากกว่า กระดูกจะถูกทำลายมากขึ้น กระดูกจะบางลงหรือแตกนอกกระดูกเกิดเป็นโพรงหนองที่ไม่มีการอักเสบหรือแตกเข้าสู่ข้อใกล้เคียง และจะทำลายกระดูกอ่อนของผิว ข้อที่กระดูกสันหลังเชื้อจะเข้าทางท่อน ้าเหลืองจากต่อมน้ำเหลือง ข้างกระดูกสันหลังหรือระบบไหลเวียนเลือด ท่อน้ำเหลืองจากกระดูกที่ติด เชื้อใกล้เคียง เชื้อจะทำลายกระดูกสันหลัง
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น ้ำหนักลด มีไข้ต่ำๆ ตอนบ่ายหรือเย็น ต่อมน้ำเหลืองโต ประวัติใกล้ชิดกับผู้ที่เป็นวัณโรค ปวดข้ออาการขึ้นกับตำแหน่งที่เป็น เช่น ที่ขาจะปวดขา ข้อยึด ปวดหลัง หลังแข็ง เดินหลังแอ่น กระดูกสันหลังยุบ กล้ามเนื้อ อ่อนแรง อัมพาต ชาแขนขา
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ CBC อาจพบ WBC ปกติหรือสูง ไม่มาก ค่า CRP , ESR สูง ทดสอบ tuberculin test ผล+
การตรวจทางรังสี plaint film MRI
การรักษา
ใหย้าต้านวัณโรค
การผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อ
การผ่าตัดระบายหนอง
ผ่าตัดเพื่อแก้การกดทับเส้นประสาท
อาการแทรกซ้อนทางกระดูกและข้อ
กระดูกสันหลังค่อมหรืออาการ กดประสาทไขสันหลัง จนอ่อน แรงหรือเป็นอมัพาต (Pott’s paraplegia) ปวดข้อ ผิวข้อ ขรุขระ ข้อเสื่อม ข้อยึดติด พิการ
ข้ออักเสบติดเชื้อ (septic arthritis)
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู่ข้อ จากการทิ่มแทงเข้าในข้อหรือแพร่กระจายจากบริเวณใกล้เคียง
จากการแพร่เชื้อโรคจากกระแสเลือด เชื้อแบคทีเรีย
การวินิจฉัย
1.ลักษณะทางคลินิค มีไข ้ มีการอกัเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วนัแรกของ การติดเชื้อข้อ มักเป็นที่ ข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อเท้า รองลงมา ข้อศอก ข้อไหล่ ข้อมือ ข้อเล็ก ๆ เช่น ข้อนิ้ว
ผล Lab เจาะดูดนำ้ในข้อ (joint aspiration) มายอ้ม gram stain ผล CBC พบ ESR , CRP สูงขึ้นเล็กน้อย
การตรวจทางรังสี Plain flim อาจพบช่องระหว่างข้อกว้าง Ultrasound บอกถึงภาวะมีน้ำในข้อมาก หรือเคลื่อนหลุด Bone scan / MRI บอกถึงการติดเชื้อกระดูก
การรักษา
การใหย้าปฏิชีวนะ
การผ่าตัด ได้แก่ Arthrotomy and drainage เพื่อระบายหนอง และเพื่อได้หนองและชิ้นเนื้อในการส่งตรวจ ลดการทำลายข้อ
ภาวะแทรกซ้อน
1.Growth plate ถูกทำลายทำให้การเจริญเติบโตตามความยาวกระดูก และการทำหน้าที่เสียไป
ข้อเคลื่อน (Dislocation)
ข้อถูกทำลาย (joint destruction)
หวักระดูกข้อสะโพกตายจากการขาดเลือด(avascular necrosis)
Osteomyelitis
สาเหตุ เชื้อแบคทีเรีย, เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอก หรือ จากอวัยวะใกล้เคียง การแพร่กระจายจากกระแสเลือด
อุบัติการณ์ พบในเด็กอายุน้อยกว่า 13 ปี มีการติดเชื้อที่กระดูกท่อนยาว มากที่สุด เช่น femur , tibia , humerus เป็นตำแหน่งเดียว
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย มีปวด บวม แดง ร้อน เฉพาะที่ บริเวณที่มีพยาธิ สภาพอาจมีความผิดปกติ ปวด ปวดมากขึ้นถ้ากดบริเวณนั้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผล CBC พบ Leucocytosis , ESR , CRP มีค่าสูง ผล Gram stain และ culture ขึ้นเชื้อที่เป็นสาเหตุ
ประวัติ มีอาการปวด เด็กเล็กแสดงออกโดยไม่ใช้แขน ขา ส่วนนั้น ทารกนอนนิ่งไม่ขยับแขนขาข้างที่เป็น (pseudoparalysis) เดก็โตบอก ต าแหน่งที่ปวดได้ อาการไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร อาจมีการบาดเจ็บ เฉพาะที่ร่วมด้วย
การตรวจทางรังสี Plain flim พบเนื้อเยื่อส่วนลึกบวม โดยเฉพาะบริเวณ metaphysis Bone scan ได้ผลบวก บอกตำแหน่งได้เฉพาะ MRI (Magnatic resonance imaging) พบ soft tissue abcess , bone marrow edema ค่าใช้จ่ายสูง ในเด็กเล็ก ๆ ต้องทำตอนเด็ก หลับ
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
อาการแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
กระทบต่อ physis เป็นส่วนเจริญเติบโตของกระดูก ทำลาย physeal plate ยับยั้งการเจริญของกระดูกตามยาว ทำให้กระดูกส่วนนั้นสั้น มีการ โก่งผิดรูปของกระดูก อาจต้องผ่าตัดเพื่อยืดกระดูกให้ยาวขึ้น
Bone and Joint infection
การติดเชื้อในกระดูก (osteomyelitis) และขอ้ (septic arthitis) ในเดก็ ถ้าไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องอาจท าให้เกิดความพิการตามมาได้
Morrey and Peterson
Definite (ติดเชื้อกระดูกอย่างแน่นอน) ตรวจพบเชื้อโรคจากกระดูกหรือเนื้อ เยื่อติดกับกระดูกนั้นหรือผลตรวจชิ้นเนื้อแสดงถึงการติดเชื้อ Probable (น่าจะติดเชื้อที่กระดูก) การติดเชื้อในเลือดร่วม ภาพรังสี Likely (คล้ายติดเชื้อที่กระดูก)
การวินิจฉัยการติดเชื้อที่ข้อ
อุณหภูมิร่างกาย > 38.3 องศาเซลเซียส
มีอาการปวดข้อ
ปวดมากเมื่อขยบัข้อ
ข้อบวม
มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาธิสภาพอื่น ๆ ร่วม
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
ฝ่าเท้าแบน Flat feet
อาการ
• อาการขึ้นกับความรุนแรงของความแบนราบ
• ผู้ป่วยยอาจจะมีตาปลาหรือผวิหนังฝ่าเท้าจะหนาผิดปกติ
• ปวดฝ่าเท้า
• ในรายที่แบนรุนแรงผู้ป่วยจะมีอาการปวดน่อง เข่า และปวดสะโพก
สาเหตุ
• เป็นพนัธุกรรมในครอบครัว
• การเดินแบบเป็ดคือมีการบิดของเท้าเข้าข้างใน
• เกิดจากเอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
• โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
ฝ่าเท้าของคนปกตเิมื่อยืนจะมีช่องใต้ฝ่าเท้าเราเรียก arch ในเดก็เล็กจะเริ่มมีตอนเด็กอายุ 3-10 ปี ถ้าโค้งใต้ผ่าเท้าไม่มีเราเรียกเท้าแบนหรือ flat feet
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาจจะใช้ ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
Club Foot (เท้าปุก)
พยาธิสภาพ
เริ่มตั้งแต่ระยะสร้างกระดูกเท้า กลไกการสร้าง Catilage anlage ที่เป็นเนื้อเยื่อ ตน้แบบของกระดูกเทา้ผดิปกติ (primary germ plasm defect) ความสัมพนัธ์ของกระดูกในเทา้ผดิปกติ : พบ navicular bone อยู่ medial และ inferior ต่อกระดูก talus , calcaneus bone หมุนเลื่อนไปทาง medial ซ้อนอยู่ใต้ talus bone และพบกระดูก metatarsal bone บิดเขา้ medial เช่นกัน รูปร่างกระดูก : รูปร่าง และขนาดจะบิดผิดรูปไปจากเท้าปกติ โดยเฉพาะ กระดูก talus , calcaneus , navicular และ cuboid bone Joint capsule และ Ligament : จะหดส้ันแข็ง Tendon และ Muscle : เอ็นและกล้ามเนื้อขาข้างที่มีเท้าปุกจะเล็กกว่าปกติ Nerve และ Vessel : มีขนาดเลก็กว่าปกติ พบสิ่งผดิปกติได้บ่อยกว่า เช่น absence ของ Dosalis pedis artery ร้อยละ 50
การวินิจฉัย
การตรวจดูลักษณะรูปร่างเท้า “เท้าจิกลง บิดเอียงเข้าด้านใน”
positional clubfoot : ขนาดเท้าใกล้เคียงเท้าปกติ บิดผิดรูปไม่มากนัก เมื่อ เขี่ยด้านข้างของเท้าเด็กสามารถกระดกเท้าขึ้นเหมือนรูปเท้าปกติได้
idiopatic clubfoot : ไม่สามารถหายได้เองต้องได้รับการรักษา
สาเหตุ
ทราบสาเหตุ
1.1 positional clubfoot เกิดจาก uterus impaction affect
1.2 teratologoc clubfoot เป็นชนิดทมี่ีความแข็งมาก พบใน Syndrome หลายชนิด เช่น arthogryposis multiplex congenita
1.3 neuromuscular clubfoot พบได้ท้งัแบบเป็นต้งัแต่เกดิ / ภายหลัง เช่น ใน cerebral palsy , myelomeingocele , neurological injury , other neuromuscular disease
ไม่ทราบสาเหตุ (ideopathic clubfoot) หรือ Ideopatic Talipes EquinoVarus (ITCEV) พบตั้งแต่กำเนิด
การรักษา
การรักษาได้ผลดีในเด็กที่เริ่มรักษาเมื่ออายุน้อยกว่า 1 ปี
อายุน้อยความแข็งของเท้าจะไม่มาก
การดดัและใส่เฝือก กรณีที่แข็งไม่มาก มารักษาอายุน้อย ดัดใส่เฝือกเพื่อรักษารูปเท้า เปลี่ยนเฝือกทุก 1 – 2 สัปดาห์ เพราะจะหลวม รักษารูปเท้าได้ไม่ดี เพื่อให้ได้ผลดีควรใส่เฝือกตั้งแต่แรกเกิด การดัดใส่เฝือกอาจช่วยให้ การผ่าตัดรักษาง่ายขึ้น ใส่นาน 2 – 3 เดือน และนัดมา F/U เนื่องจากโอกาสกลับมาบิดซ้พช้ำ
การผ่าตัดรายที่เนื้อเยื่อมีความแข็ง กระดูกแข็งผิดรูป ไม่สามารถดัดโดยใช้แรงจาก ภายนอกทำให้รูปเท้าดีขึ้น ต้องทำการผ่าตัด แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
2.1 การผ่าตัดเนื้อเยื่อ (subtalar soft tissue release) ทำในอายุ < 3 ปี ผ่าตัดคลายเนื้อเยื่อ Subtalar joint และยืดเอ็นที่ตึงทำให้การเคลื่อนไหวของข้อเท้าใกล้เคียงปกติ
2.2. การผ่าตัดกระดูก (osteotomy) ทำในอายุ 3 – 10 ปี ตัดตกแต่งกระดูกให้รูปร่างใกล้เคยีงปกติ
2.3 การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก (triple fusion) ช่วงอายุ 10 ปีขึ้นไป ทำให้ Subtalar joint และ midtarsal joint เชื่อมแข็ง ไม่โต รูปร่างเท้าใกล้เคียงปกติ
นางสาวนารีรัตน์ ตั้งใจธรรม 2A เลขที่43 รหัส613601044