Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบกล้ามเนื้อ, สาเหตุ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบกล้ามเนื้อ
โรคกระดูกอ่อน(Ricket)
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้ ดูดซึมแคลเซียมน้อย
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
โรคไตชนิดที่ไม่สามารถดูดกลับแคลเซีม ฟอตเฟต
ภาวะฟอสเฟตต่ำ (Hypophosphatasia)
ความหมาย
โรคของเมตาบอลิซึมของกระดูกที่พบในเด็ก
ความพกพร่องในการจับเกาะของเกลือแร่บน
เนื้อกระดูกอ่อน พบได้มากในเด็กอายุ 6 เดือน - 3 ปี
อาการและอาการแสดง
ในเด็กเล็ก ความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย
กล้ามเนื้อหย่อนอ่อนแรง หลังแอ่น
อายุ 1 ปีขึ้นไป
จะพบความผิดรูปมากขึ้น
กระดูกสันหลังคดหรือหลังค่อม
ท่าเดินคล้ายเป็ด
ขาโก่ง
อาจเกิดกระดูกหักได้
อายุ 1 ปี
จะมีความผิดรูป
กะโหลกนิ่ม
หน้าผากนูน
ส่วนหลังของกะโหลกศีรษะแบนราบลง
รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า
ฟันขึ้นช้า
กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ
ผมร่วง
การรักษา
แบบประคับประคอง
ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
การรักษาสาเหตุ
ให้วิตามิน ดี
การป้องกัน
ให้วิตามินดี 200 หน่วย/วัน/น้ำหนักตัวเด็กคลอดก่อนกำหนด
ให้ออกกำลังกายกระตุ้นการสร้างของกระดูก
การรับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม
ระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม
ยาเตรทตราชัยคลิน
ยาระบาย
ยาลมกรด
ยาขับปัสสาวะ
ยากันชัก
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
Tuberculous Osteomyelitis and
Tuberculous Arthitis
วัณโรคกระดูกและข้อในเด็กพบร้อยละ 4 ของการติดเชื้อวัณโรคปอด วัณโรคปอดพบร้อยละ 25 ของวัณโรคในเด็กที่อายุต่ำกว่า 15 ปี
วัณโรคกระดูกสันหลัง (Spinal tuberculosis) พบประมาณครึ่งหนึ่งของวัณโรคกระดูกและข้อทั้งหมด
ตำแหน่งที่พบบ่อย
ข้อเข่า
ข้อเท้า
ข้อสะโพก
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจจากการไอ จาม ของผู้ป่วย
เชื้อเจริญเติบโตและแพร่กระจายผ่านทาง
lympho- hematogenous
spread ยังอวัยวะต่างๆ และจะถูกระบบภูมิต้านทานของร่างกายทำลายแต่อาจจะมีเชื้อบางส่วนที่อยุ่ตามอวัยวะต่างๆ จะลุกลามเมื่อมีปัจจัยเหมาะสม
อาการและอาการแสดง
รอยโรคเริ่มที่ metaphysis ของ long bone ซึ่งมีเลือดมาเลี้ยงมาก อาจเป็นตำแหน่งเดียวหรือมากกว่า
กระดูกจะถูกทำลายมากขึ้น กระดูกจะบางลงหรือแตกนอกกระดูกเกิดเป็นโพรงหนองที่ไม่มีลักษณะการอักเสบหรือแตกเข้าสู่ข้อใกล้เคียง
วัณโรคกระดูกและข้อในเด็กอาการจะเริ่มแสดงหลังการติดเชื้อประมาณ 1-3 ปี ที่กระดูก
และจะทำลายกระดูกอ่อนของผิวข้อ ที่กระดูกสันหลัง เชื้อจะเข้าทางท่าน้ำเหลืองจากต่อมน้ำเหลืองข้างกระดูกสันหลัง หรือระบบไหลเวียนเลือด ท่อน้ำเหลืองจากกระดูกที่ติดเชื้อใกล้เคียง เชื้อจะทำลายกระดูกสันหลัง
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด
การตรวจชิ้นเนื้อ การผ่าตัดระบายหนอง ผ่าตัดเพื่อแก้การกดทับเส้นประสาท
อาการแทรกซ้อนทางกระดูกและข้อ
กระดูกสันหลังค่อมหรืออาการกดประสาทไขสันหลังจนอ่อนแรง หรือเป็นอัมพาต (Pott’s paraplegia)
ปวดข้อ ผิวข้อ ขรุขระ
ข้อเสื่อม ข้อยึดติด พิการ
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
ค่า CRP , ESR สูง
ทดสอบ tuberculin test ผล+
CBC อาจพบ WBC ปกติหรือสูงไม่มาก
การตรวจทางรังสี
plaint film
MRI
ลักษณะทางคลินิก
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด มีไข้ต่ำๆ ตอนบ่ายหรือเย็น ต่อมน้ำเหลืองโต ประวัติใกล้ชิดกับผู้ที่เป็นวัณโรค มีปวดข้อ อาการขึ้นกับตำแหน่งที่เป็น
ข้อยึด
กระดูกสันหลัง จะปวดหลัง หลังแข็ง เดินหลังแอ่น กระดูกสันหลังยุบ
เดินกะเผลก
กล้ามเนื้ออ่อนแรง อัมพาต ชาแขนขา
ขาจะปวดขา
Bone and Joint infection การติดเชื้อในกระดูก และข้อ
ในเด็กทำให้เกิดความพิการได้
ข้อ (septic arthitis)
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิค มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรกหลังติดเชื้อข้อ
ผล Lab เจาะดูดน้ำในข้อ(joint aspiration)
ผล CBCพบ ESR , CRP สูง
การตรวจทางรังสี
Ultrasound พบน้ำในข้อมาก เคลื่อนหลุด
Bone scan / MRI บอกการติดเชื้อกระดูก
Plain flim พบช่องระหว่างข้อกว้าง
การรักษา
การผ่าตัด Arthrotomy and drainage เพื่อระบายหนอง นำชิ้นเนื้อไปตรวจ
การให้ยาปฏิชีวนะ
ภาวะแทรกซ้อน
Growth plate ถูกทำลาย ทำให้การเจริญเติบโตตามความยาวกระดูก
ข้อเคลื่อน (Dislocation)
ข้อถูกทำลาย (joint destruction)
หัวกระดูกข้อสะโพกตายจากการขาดเลือด
(avascular necrosis)
อาการการติดเชื้อที่ข้อ
T > 38.3 องศาเซลเซียส
มีอาการปวดข้อ
ปวดมากเมื่อขยับข้อ
ข้อบวม
มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาธิสภาพอื่น ๆ ร่วม
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
กระดูก(osteomyelitis)
ติดเชื้อที่กระดูกท่อนยาว femur , tibia , humerus
พบในเด็กที่อายุน้อยกว่า13ปี
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย มีปวด บวม แดง ร้อน เฉพาะที่ บริเวณที่มีพยาธิ กดจะปวดมากขึ้น
ซักประวัติ เด็กเล็กจะไม่ใช้แขนหรือขา ส่วนนั้น ทารกนอนนิ่งไม่ขยับที่เป็น
เด็กโตก็จะบอกตรงที่ปวด ไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผล CBC พบ Leucocytosis , ESR ,CRP มีค่าสูง ผล Gram stain และ culture ขึ้นเชื้อ
การตรวจทางรังสี
Plain flim เนื้อเยื่อส่วนลึกบวม metaphysis
Bone scan ผล+ บอกตำแหน่งเฉพาะ
MRI พบ soft tissue abcess ,
bone marrow edema แพง
รักษา
ผ่าดัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
อาการแทรกซ้อน
กระทบต่อphysis ส่วนเจริญเติบโตของกระดูก ทำลาย
physeal plate ทำให้กระดูกสั้น โก่งผิดรูป ต้องผ่าเพื่อเพิ่มความยาวกระดูก
กระดูก เนื้อเยื่อ ตาย
Club Foot เท้ากระปุก
ลักษะเท้า ข้อเท้าจิกลง (equinus)ส้นเท้าบิดเข้าใน (varus) กลางเท้าและด้านหน้าบิดเข้าใน
(adduction and cavus)
สาเหตุ
แบบทราบสาเหตุ
positional clubfoot เกิดจาก uterus impaction affect
teratologoc clubfoot เป็ นชนิดที่มีความแข็งมาก พบใน Syndrome หลายชนิด เช่น arthogryposis multiplex congenita
neuromuscular clubfoot พบได้ทั้งแบบเป็ นตั้งแต่เกิด / ภายหลัง เช่นใน cerebral palsy , myelomeingocele , neurological injury
ยังไม่ทราบแน่ชัด อาจจะเกิดจากยีน หรือปัจจัยเสริม เช่น แม่สูบบุหรี่ตั้งครรภ์
แบบไม่ทราบสาเหตุ (ideopathic clubfoot) หรือ Ideopatic Talipes EquinoVarus(ITCEV) พบตั้งแต่กำเนิด
พยาธิสภาพ กลไกการสร้าง Catilage anlageเนื้อเยื่อต้นแบบของกระดูกผิดปกติ
รูปร่าง ขนาด จะบิดผิดรูปโดยเฉพาะิโดยเฉพาะ
กระดูก talus , calcaneus , navicular และ cuboid bone
Joint capsule และ Ligament จะหดสั้นแข็ง
Tendonและ Muscle เอ็นและกล้ามเนื้อขาข้างที่เป็นกระปุกเล้กกว่าปกติ
Nerve และ Vessel : มีขนาดเล็กกว่าปกติ พบสิ่งผิดปกติได้บ่อยกว่า เช่น
absence ของ Dosalis pedis artery ร้อยละ 50
การวินิจฉัย
ดูลักษณะรูปร่างของเท้า “เท้าจิกลง
บิดเอียงเข้าด้านใน”
positional clubfoot ขนาดเท้าใกล้เคียงเท้าปกติ บิดผิดรูปนิดเดียว เมื่อเขี่ยเท้าแล้วสามารถกระดกเท้าได้เหมือนเท้าปกติ
idiopatic clubfoot ไม่สามารถหายเองได้ต้องรักษา
การรัษา
การดัดและใส่เฝือก เปลี่ยนเฝือกทุก 1-2 สป อาจช่วยให้การผ่าตัดรักษาง่ายขึ้น ใส่นาน 2 – 3 เดือน และนัดมา F/U เนื่องจากโอกาสกลับมาบิดซ้ำ
ถึงร้อยละ 50
การผ่าตัด ในรายที่เนื้อเยื่อแข็ง กระดูกแข็ง
การผ่าตัดกระดูก(osteotomy) ทำในอายุ3-10ปี ตกแต่งให้รูปร่างใกล้เคียงปกติ
การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก(triple fusion) ช่วงอายุ10ปี Subtalar joint และ midtarsal joint เชื่อมแข็ง ไม่โต รูปร่างใกล้เคียงปกติ
การผ่าตัดเนื้อเยื่อ (subtalar soft tissue release) ทำในอายุ< 3 ปี ผ่าตัดคลายเนื้อเยื่อSubtalar joint และยืดเอ็นที่ตึง ทำให้การเคลื่อนไหวของข้อเท้าใกล้เคียงปกติ
ฝ่าเท้าแบน Flat feet
เป็นโรคที่ไม่มีช่องใต้ฝ่าเท้า(arch) เด็กจะเริ่มมีarchตั้งแต่3-10ปี
อาการ
ผู้ป่วยอาจจะมีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าจะหนาผิดปกติ
รองเท้าผู้ป่วยจะสึกเร็ว
ปวดฝ่าเท้า
แบนรุนแรง ผู้ป่วยจะปวดน่อง เข่า สะโพก
สาเหตุ
พันธุกรรม
การเดินที่ผิดปกติ เดินแบบเป็ด บิดเท้าเข้าข้างใน
เอ็นข้อเท้าฉีกขาด
โรคที่เกี่ยวกับสมอง/ไขสันหลัง
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาจจะใช้ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
Cerebral Palsy
สาเหตุ
ก่อนคลอด
มารดาเป็นโรคแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ ได้แก่ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับมารดาขณะตั้งครรภ์
อาจมีสาเหตุเกิดมาจากการติดเชื้อ
ระหว่างคลอด / หลังคลอด
คลอดยาก
สมองกระทบกระเทือน
ขาดออกซิเจน
ทารกคลอดก่อนกำหนด
จำแนกลักษณะการเคลื่อนไหว
Ataxic CP กล้ามเนื้อจะยืดหดไม่เป็นระบบระเบียบ ทำให้ไม่สามารถควบคุมกล้ามเนื้อได้ หากเด็กมีความเก็บกดทางอารมณ์ หรือเมื่อเวลาตื่นเต้น กล้ามเนื้อจะยิ่งผิดปกติมากขึ้น
Athetoid CP มีอาการกล้ามเนื้อไม่ประสานกัน ทำให้เด็กควบคุมสมดุลย์ไม่ได้ ทำให้โซเซและล้มได้ง่าย ประมาณ 1 ใน 4 ของเด็กที่เป็นซีพี จะมีอาการเป็น Atheloid CP
Spastic CP จะมีอาการกล้ามเนื้อเกร็งแน่น ไม่สามารถหดได้เหมือนกล้ามเนื้อปกติ มีลักษณะแข็งทื่อ
Mixed CP เป็นการผสมผสานลักษณะทั้งสามคือ เด็กคนเดียวอาจมีลักษณะที่กล่าวมาแล้ว โดยประมาณกันว่า 1 ใน 4 ของคนที่เป็นซีพี จะมีลักษณะของการผสมผสานประเภทนี้
spastic cerebral palsy
quadriplegia หรือtotal body involvement พวกนี้มี involvement ของแขนและขาทั้ง 2 ข้างเท่าๆกัน ส่วนใหญ่ของ cases พวกนี้มักจะมี neck หรือ cranial
nerve involvement ด้วย ปัจจุบันจึงนิยมที่จะเรียก total body involvement มากกว่า quadriplegia
อื่นๆ เช่น monoplegia, paraplegia, triplegia พบน้อยมากโดยเฉพาะ paraplegia ในกรณีนี้ควร rule out spinal cord lesion ออกก่อน ก่อนที่จะบอกว่าเป็น Cerebral palsy ชนิด paraplegia
Double hemiplegia คือ มีลักษณะของ hemiplegia ทั้ง 2 ข้าง เพียงแต่ความรุนแรงแต่ละข้างไม่เท่ากัน
Diplegia คือ involved มากเฉพาะที่ขาทั้ง 2 ข้าง ในขณะที่แขนทั้ง 2 ข้าง gross movement เกือบจะปกติมีเฉพาะส่วนของ fine movement เท่านั้นที่ถูก involved
Hemiplegia คือพวกที่มี spasticity ของแขนและขาข้างใดข้างหนึ่ง ส่วนอีกข้างปกติ
การรักษา
ลดความเกร็ง โดยใช้ยา
ยากิน กลุ่ม diazepam
ยาฉีด เฉพาะที่ ที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน คือกลุ่ม Botox
การให้การดูแลรวมถึงกำลังใจ โดยพ่อแม่ผู้ปกครองมีส่วนสำคัญกับการพัฒนาการด้านอารมณ์ของเด็ก
การผ่าตัด
การย้ายเอ็น เพื่อสร้างความสมดุลย์ของข้อ
การผ่าตัดกระดูก ในรายที่กระดูกถูกดึงจนผิดรูปแล้ว
การผ่าตัดลดความตึงของกล้ามเนื้อ โดยผ่าคลายเฉพาะกล้ามเนื้อที่ยึดตึง
การรักษาด้านอื่นๆ เช่น
น้ำลายยืด
การใช้เครื่องช่วยฟัง
การผ่าตัดแก้ไขตาเหล่
ใช้ยาควบคุมการชัก
รวมถึงปัญหาด้านจิตเวช
ป้องกันความผิดรูปของข้อ ต่างๆ
กายภาพบำบัด(Physical Therapy) จะช่วยให้เด็กซีพี และเรียนรู้การเคลื่อนไหวและปรับสมดุลย์ของร่างกายได้ดีขึ้น
อรรถบำบัด (Speech and Language Therapy) เด็กๆ ที่เป็นซีพี จะได้ฝึกการสื่อสาร
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)พบในเด็ก>ผู้ใหญ่ ช>ญ
อาการและอาการแสดง
ปวดตรงที่มีก้อนเนื้องอก
น้ำหนักลด
มีไข้
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้นๆ
การเคลื่อนไหวไม่สะดวกอาจเกิดอุบัติเหตุบ่อยๆ เพราะกระดูกรับน้ำหนักไม่ได้
การวินิจฉัย
การซักประวัติ ระยะเวลาการมีก้อนเนื้อ อาการปวด การเคลื่อนไหว
ตรวจร่างกาย น้ำหนัก ตำแหน่งของก้อน ต่อมน้ำเหลือง การเคลื่อนไหว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : MRI , CT เพื่อดูการกระจายของโรค หาระดับอัลคาไลน์ฟอสฟาเตส(ALP)และระดับ แลคเตส ดีไฮโดรจิเนส (LDH)สูง
การรักษา
เคมีบำบัด
ผ่าตัด
รังสีรักษา
Omphalocele
เป็นความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง โดยที่มีการสร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ ทำให้บางส่วนขาดหายไป มีแต่เพียงชั้นบางๆ ที่ประกอบด้วยเยื่อบุช่องท้อง Penitoeal และเยื่อ amnion ประกอบกันเป็นผนังปิดหน้าท้องคล้ายถุง ปกคลุมอวัยวะภายในที่ยื่นออกมาอยู่นอกช่องท้อง
การรักษา
การรักษาด้วยวิธีผ่าตัด
อีกวิธีเป็นการปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นขั้นตอน (staged repair)
วิธีแรกเป็นการเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย (primary fascial closure)
การดูแลหลังผ่าตัด
Fluid and nutrition support
Omphalocele ให้ IV fluid เป็น 10%DN/5 เป็น maintenance บวกกับที่เสียออกมาทาง OGtube
Wound care
Omphalocele ใหญ่ให้ดูแลทำความสะอาดแผลกว่าจะเริ่มดีขึ้นพอให้ไปดูแลต่อเองได้
การรักษาด้วย omphalocele ออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่
conservative
เหมาะสำหรับในรายที่ omphalocele มีขนาดใหญ่
operative
ลักษณะทางคลินิก
การตรวจก่อนการคลอด
การใช้อัลตราซาวนด์ตรวจทารกในครรภ์มารดาสามารถวินิจฉัยภาวะ Omphalocele ได้
การตรวจภายหลังคลอด
พบบริเวณกลางท้องทารกมีถุง omphalocele ติดอยู่กับผิวหนัง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 4 ซม.ขึ้นไป จนมากกว่า 10 ซม.ตัวถุงเป็นรูปโดม ผนังบางมองเห็นอวัยวะภายในได้
อวัยวะที่อยู่ในถุงอาจประกอบไปด้วยลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ กระเพาะอาหาร ม้าม และตับ
พบในทารกเพศหญิงได้บ่อยกว่าประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ป่วย จะมีน้ำหนักตัวน้อย ประมาณร้อยละ 45-70 จะมีความผิดรูปอื่นร่วม
Gastroschisis
การที่มีผนังหน้าท้องแยกจากกัน เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดเกิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังหน้าท้องภายหลังจากผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์ เกิดการแตกทะลุของ hermia of umbilical cord
การวินิจฉัย
เมื่อคลอดพบว่าที่หน้าท้องทารกจะพบถุงสีขาวขุ่นบาง ขนาดต่างๆกัน สามารถมองเห็นลำไส้หรือตับผ่านผนังถุง อาจมีส่วนของถุงบรรจุ wharton’s jelly สายสะดือติดอยู่กับตัวถุง ขนาดที่พบตั้งแต่ 4-10 cm.
การดูแลรักษาพยาบาล
การคลอดและนำส่งโรงพยาบาล
การดูแลโดยทั่วไป
การรักษาความอบอุ่น
ประเมินภาวะทั่วไป ความสามารถในการหายใจ
ให้ vitamine K 1 mg intramuscular
decompression stomach
การอาบน้ำ ไม่ต้องทำเนื่องจากจะทำให้เด็กตัวเย็นมากขึ้น
การค้นหาความพิการร่วม
การดูแลเฉพาะ
การทำแผล สะอาด หมาดๆ ไม่รัด
การแก้ไขปัญหาฉุกเฉิน
Rectal irrigation ด้วย NSS อุ่น
เริ่มให้ antibiotic ได้ทันที
ใส่ orogastric tube ปลายเปิดลงถุง
ตรวจระดับน้ำตาล เกลือแร่ในกระแสเลือด
การประเมินการหายใจ เตรียม endotrachial tube, suction
เจาะเลือดแม่เพื่อเตรียมทำการจองเลือด เผื่อว่าต้องทำการให้เลือด
Incubator หรือผ้าอุ่น กระเป๋าน้ำร้อน
การพยาบาลก่อนผ่าตัด (Nursing preoperative care)
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
อาจเกิดภาวะติดเชื้อของแผลจากการที่มีลำไส้ออกมาอยู่นอกช่องท้อง
อาจเกิดอาการท้องอืด หรืออาเจียน เนื่องจากมีลมในกระเพาะและลำไส้
อาจเกิดการสูญเสียสารเหลวที่ไม่สามารถทราบได้ (insensible loss) ซึ่งจะนำไปสู่ปริมาตรเลือดต่ำ
อาจเกิดการขาดสารน้ำและอีเลคโตรลัยท์ เนื่องจากงดอาหาร น้ำ และจากการที่มีลำไส้ออกมาอยู่นอกช่องท้อง
อาจเกิดภาวะ Hypothermia เนื่องจากทารกส่วนใหญ่น้ำหนักน้อย หรือคลอดก่อนกำหนด และมีลำไส้ออกมาอยู่นอกช่องท้อง
บิดามารดามีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของบุตร
การดูแลหลังผ่าตัด
General care
สังเกตการหายใจ
การขับถ่าย
จัดท่านอนหงาย
ตรวจดูว่ามี discharge ออกมาจากแผล
swab culture
Fluid and nutrition support
ถ้าเป็น gastroschisis มี I nsensible loss เฉลี่ย daily requirment 200 ml./kg./day
Peripheral parenteral nutrition เริ่มให้ได้ตั้งแต่เด็ก stable หลังผ่าตัด 1 วัน
Enteral nutrition จะอนุญาตให้กินได้เมื่อเด็ก stable ประมาณ 1 สัปดาห์
เริ่ม test feed ด้วย น้ำสะอาด หรือ5% D/W5 ml. ต่อมื้อ วันละ 8 มื้อ
Hypoglycemia, Hypocalcemia
สังเกตุว่าเด็กจะมี tremor,
cyanosis หรือ convulsion รายที่มี hypocalcemia อาจจะเกิด periodic apnea
Antibiotic prophylaxis
ให้ ampicillin และ gentamicin ประมาณ 5 วัน ถ้าเด็กไม่มีปัญหาแผลติดเชื้อ รับอาหารได้ดี หายใจดีปกติ ก็สามารถหยุดการให้ยาได้
Hypothermia
ต้องให้เด็กอยู่ในตู้อบ (incubator) ปรับอุณหภูมิตามตัวเด็ก
Wound care
gastroschisis ที่ใส่ silo ก็เช็ด silo เช้าเย็นทำแผลเช่นเดียวกับก่อนผ่าตัดถ้าเป็นแผลเย็บ ทำแผลวันละครั้ง ดูการเปลี่ยนแปลงของแผล
Respiratory distress
ใส่ endotrachial tube และให้ muscle relaxant 1-2 วันหลังผ่าตัด
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลหลังผ่าตัด
อาจเกิดภาวะหายใจลำบาก เนื่องจากการใช้แรงกดถุงลำไส้ใช้เคลื่อนเข้าช่องท้อง
อาจเกิดภาวะท้องอืดหรืออาเจียน เนื่องจากการที่ลำไส้บวมหรือมีการอุดตัน
อาจเกิดภาวะติดเชื้อของแผลผ่าตัด
เช็ดทำความสะอาด ลำไส้ส่วนที่สกปรก ป้องกันการติดเชื้อ
การติดตามรักษา
เด็กจะมีน้ำหนักน้อยกว่าปกติแต่จะกลับเข้าสู่ภาวะปกติเมื่ออายุประมาณ 6 เดือน ภาวะที่อาจจะต้องแก้ไขต่อไป เช่น ventral hernia นัดมาแก้ไขประมาณอายุ 2-4 ปี ปัญหาอื่นๆ ที่อาจจะเกิด ได้แก่
intestinal obstruction,
volvulus หรือปัญหาการวินิจฉัยภาวะไส้ติ่งอักเสบ
สาเหตุ
แบคทีเรีย
เชื้อรา
จากการทิ่มแทงจากภายนอก อวัยวะใกล้เคียง การแพร่เชื้อโรคทางกระแสเลือด