Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระดูกหัก กระดูกคด - Coggle Diagram
กระดูกหัก กระดูกคด
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ในเด็กทารกแรกเกิด
มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ทำคลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
ในเด็กโต
อาจเกิดจากการหกล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง
อาการ
จะพบหัวใหล่บวม ช้ำ เวลาจับไหล่หรือแขนให้มีการเคลื่อนไหวจะเจ็บปวด
การรักษา
ห้อยแขนข้างที่หักไว้ด้วยผ้าคล้องแขนไว้นานประมาณ2-3สัปดาห์
ในรายที่กระดูกหักเคลื่อนออกจากกันมากๆควรตรึงแขนด้วย traction ตรึงไว้นานประมาณ3สัปดาห์ อาจทำ skin traction หรือ skeletal traction ก็ได้
กระดูกต้นขาหัก (fracture of femur)
พบได้ทุกวัย โดยเฉพาะอายุ2-3ปี
ตำแหน่งที่พบ
ต้นกลางของกระดูกต้นขา
อาการ
ปวดบริเวณที่หัก บวมตรงตำแหน่งกระดูก
การรักษา
ถ้าอายุต่ำกว่า 3ปี ใส่เฝือกขาแบบยาวนาน 3-4สัปดาห์
ถ้ากระดูกเคลื่อนออกจากกันมากๆ ให้รักษาโดยวิธี Gallow's หรือ Bryant's traction
ถ้าอายุมากกว่า 3ปี ทำ Russel's traction
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด (birth palsy)
การวินิจฉัย
จากการสังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อย
การรักษา
ส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่จำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด
คลอดติดไหล่
มีน้ำหนักมาก
คลอดท่าก้น
การคลอดที่ใช้เวลานาน
อาการ
แขนอ่อนแรง
กระดูกข้อศอกหัก (Supracondylar facture)
พบบ่อยในเด็ก เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง หรือข้อศอกงอ เด็กจะปวดบริเวณข้อศอกอย่างมาก
โรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
Volkman's ischemic contracture กระดูกหักบริเวณนี้อาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของกระดูก Hemerus
การรักษา
ในรายที่หักแบบ greensticอาจใส่เฝือกแบบ posterior plaster splint ประมาณ 1 สัปดาห์เมื่อยุบบวมจึงเปลี่ยนเฝือกพันต่ออีก 2-3 สัปดาห์
กระดูกปลายแขนหัก
พบมากในเด็กเริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ้น
สาเหตุ
หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
ตำแหน่งที่พบบ่อย
บริเวณปลายล่างๆ หรือส่วนล่าง /3 ของลำกระดูก
โรคคอเอียงแต่กำเหนิด (Congenital musculas Torticollis)
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ลักษณะของผู้ป่วย ซักประวัติ
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
การยืดกล้ามเนื้อ
การผ่าตัด อายุ1-4ปีจะได้ผลดี
อาการ
มักคลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อยๆยุบลงไป การปล่อยให้มีภาวะคอเอียงอยู่นานจะส่งผลให้กระโหลกศีรษะ ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง ศรีษะบิดเบี้ยว ไม่สมดุล
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
อาการแสดง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด
พบการเคลื่อนของกระดูกสันหลังออกจากแนวลำตัว
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง สะบักไม่เท่ากัน
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา ด้านโค้งจะฝ่อลีบและบาง
ข้อศอกและเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
ตัวเอียงไปด้านข้าง
มีอาการปวดเมื่อหลังคดมาก
เริ่มมีอาการเมื่ออายุน้อยยิ่งมีความพิการมาก
การรักษา
แก้ไขหรือลดความพิการ
ป้องกันและลดความปวด
ป้องกันไม่ให้เป็นมากขึ้น
ปรับปรุงสมรรถภาพของปอดและหัวใจ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ให้กระดูกสันหลังมีความสมดุลและแข็งแรง
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย แนวลำตัว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ X-Ray
การซักประวัติ การผ่าตัด ความพิการ
กระดูกไหปลาร้าหัก(fracture of clavicle)
อาการและอาการแสดง
Crepitus คลำได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
เอียงคอไปข้างที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีปรคองข้างที่เจ็บ
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็ก จะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ90องศา ให้ติดกับลำตัว พันนาน 10-14 วัน ระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็ก
ในเด็กมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา และพันแขนให้ติดกับลำตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าสำลี คล้องแขนไว้ประมาณ 2-3 สัปดาห์
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส (Transient subluxation of radial head , pulled elbow)
พบได้บ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี
สาเหตุ
เกิดจากการหยอกล้อ แล้วดึงแขนหรือหิ้วแขนเด็กขึ้นมาตงๆในขณะที่ข้อศอกเหยีดและแขนท่อนปลายคว่ำมือ