Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด (Amniotic fluid embolism/AFE) - Coggle…
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
(Amniotic fluid embolism/AFE)
ภาวะที่มีน้ำคร่ำผ่านเข้าสู่กระแสเลือดของมารดา
ซึ่งเข้าไปในหลอดลมฝอยในปอด ไปอุดกั้นบริเวณหลอดเลือดดำ
ที่ปอด ทำให้ร่างกายเกิดปฏิกิริยาต่อต้านสารประกอบน้ำคร่ำ
:red_flag:
hypotension ทันที
hypoxia
consumptive coagulopathy
ปัจจัยส่งเสริม
:question:
การเร่งคลอด
ทารกตายในครรภ์ เป็นเวลานาน
การคลอดเฉียบพลัน
รกเกาะต่ำ
รกลอกตัวก่อนกำหนด
มดลูกแตก
การบาดเจ็บในช่องท้อง
การผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
มีบุตรหลานคน
ตั้งครรภ์อายุมากกว่า 35 ปี
น้ำคร่ำมีขี้เทาปน
การเบ่งคลอดขณะถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
การเจาะถุงน้ำคร่ำ
การรูดเปิดขยายปากมดลูก
การตรวจวินิจฉัยน้ำคร่ำก่อนกำหนด
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกในครรภ์และภายนอกครรภ์
พยาธิสภาพ :!:
น้ำคร่ำจะผ่านเข้าสู่กระแสเลือดของมารดา เข้าในบริเวณที่รกลอกตัว หรือปากมดลูกฉีดขาด จะเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือด ผ่านเข้าสู่หัวใจและปอด เกิดการอุดตันในหลอดเลือดฝอยในปอด หลอดเลือดหดเกร็ง เลือดผ่านปอดไปหัวใจซีกซ้ายลดลง เกิด Cardiogenic shock ความดันเลือดในปอดสูงขึ้น เกิดการคั่งของเลือดในปอด หัวใจขวาไม่สามารถบีบส่งไปปอดได้ เกิดภาวะปอดบวมน้ำตามมา
อาการและอาการแสดง
:warning:
หนาวสั่น
เหงื่อออกมาก
คลื่นไส้ อาเจียน วิตกกังวล
หายใจลำบาก (dyspnea) เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวทันที เขียวจามใบหน้า ลำตัว (cyanosis)
Pulmonary edema
เส้นเลือดหัวใจตีบ
Low blood pressure
ซัก
หมดสติและเสียชีวิต
ถ้ามีอาการนานกว่า 1hr.ผู้คลอดยังมีชีวิต
จะเกิดกลไกการแข็งตัวของเลือดเสียไป
เกิดการตกเลือดรุนแรง
การวินิจฉัย
:!?:
อาการและอาการแสดง
Respiratory distress,
Cardiovascular collapse,
เขียว,เลือดออก,ไม่รู้สติ
ทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเซลล์ผิวหนัง
ขนอ่อน เมือกของทารก
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก
การ ECG
ตรวจการไหลเวียนของเลือดในปอด
ตรวจหา Sialy1TH antigen
ผลกระทบ
:fire:
มารดา
: เสียชีวิตจากการเสียเลือด ช็อค
ทารก
: โอกาสรอดค่อนข้างน้อย
หากรอดบกพร่องทางระบบประสาท
การป้องกัน
:lock:
ไม่ควรเร่งให้มดลูกหดรัดตัวถี่เกินไป
การเจาะถุงน้ำคร่ำควรทำอย่างระมัดระวัง
กระตุ้นเจ็บครรภ์ในรายที่ เด็กตายในครรภ์
ใช้ oxytocin drip ควรทำอย่างระมัดระวัง
ไม่ควรกระตุ้นการเจ็บครรภ์โดย stripping membranes
ตรวจภายในระมัดระวังในรายที่รกเกาะต่ำ
ถ้าเจ็บครรภ์ถี่ พักได้น้อย รายงานแพทย์ทุกครั้ง
การรักษา
:smiley:
จัดท่านอน Fowler's position ให้ออกซิเจน 100%
แก้ไขภาวะความดันโลหิตต่ำ,แก้ไขภาวะไฟบริโนเจนในเลือดต่ำ
ให้ยา oxytocin หรือ metherginmางหลอดเลือดดำ
ถ้าทารกยังไม่คลอด ให้รีบช่วยเหลือโดยการผ่าตัดคลอดหน้าท้อง
เตรียมการช่วชีวิตผู้คลอดถ้ามีความดันโลหิตต่ำ
เจาะเลือดประเมินความเข้มข้นของเลือดและการแข็งตัว
รักษาภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ประเมินการเสียเลือด
หากมี PPH ให้ยาช่วยหดรัดตัวของมดลูก
/คลึงมดลูกตลอดเวลา
ให้ Morphine ลดการคั่งของเลือดดำในปอด
ให้ Digitalis ช่วยให้หัวใจบีบตัวช้าลง
แรงขึ้น เลือดออกจากหัวใจมากขึ้น
ให้ Hydrocortisone 1 gm.IV drip
ช่วยลดภาวะหดเกร็งของหลอดเลือดแดงฝอยในปอด
ให้ Isoprenaline 0.1 gm.IVช่วยให้
การไหลเวียนของเลือดในปอดและการทำงานของหัวใจเพิ่มขึ้น
การพยาบาล
:<3:
เฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
ถ้ามีอาการและอาการแสดง
จัดท่านอน Fowler's position
ให้ออกซิเจน
ให้สารน้ำและเลือดตามแผนการรักษา
เฝ้าระวังการเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด
สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก
เตรียมช่วยเหลือการคลอดด้วยคีมหรือผ่าตัดทางหน้าท้อง
เตรียมช่วยฟื้นคืนชีพในรายที่หัวใจล้มเหลว
ใช้เครื่องช่วยหายใจภายใน 2-3วันแรก
ดูแลและให้กำลังใจต่อครอบครัว หากมารดาและทารกเสียชีวิต