Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูกและกล้ามเนื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกหัก
ภาวะที่โครงสร้างหรือ ส่วนประกอบของกระดกูแยกออกจากกัน อาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิงหรอืมีเพียง บางส่วนติดกันหรือเป็นเพียงแตกร้าว
สาเหตุ
เกิดจากการได้รับอุบัติเหตุนำมาก่อน มีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง เช่น ถูกตี รถชน ตกจากที่สงู
อาการและอาการแสดง
รอยจ้ำเขียวเนื่องจากมีเลือด ซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
บวมเนื่องจากมีเลือดออกบรเิวณ ที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมี ลักษณะผิดรูป
ปวดและกดเจ็บบริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
ข้อเคลื่อน
ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออก จากที่ควรอยู่หรือหลุดออกจากเบ้าซึ่งการ บาดเจ็บของข้อและกระดูกยังส่งผลให้เนื้อเยื่อ ที่อยู่โดยรอบกระดูก หลอดเลือด น้ำเหลือง เส้นประสาทและเส้นเอ็นได้รับอันตรายด้วย
การติดของกระดูกเด็ก
สิ่งที่สร้างขึ้นมาประสานรอยร้าวหรือรอยแตกของกระดูกมี องค์ประกอบสำคัญคือคอลลาเจนไฟเบอร์ (collagen fiber) แคลเซี่ยมเซลล์สร้างกระดูก(osteoclast)รวมเรียกสิ่งที่สร้างขึ้น ว่า(callus)เปรียบเสมือนเป็นกาวธรรมชาติ(biological glue)
กระดูกและข้อเคลื่อนในเด็กส่วนใหญ่รักษา รักษาโดยไม่ผ่าตัด ยกเว้น
กระดูกหักในเด็กตามการแบ่ง ของ Salter ชนิด Ш , ІV
ข้อเคลื่อนที่มีชั้นกระดูกตดิอยู่ในข้อ
กระดูกหักจากการหดตัวของ เอ็นกล้ามเนื้อ
ข้อเคลื่อนที่ไม่สามารถจัดเข้าที่ได้โดยไม่ผ่าตัด
กระดูกหักผ่านข้อ
กระดูกคอฟีเมอร์หัก และเคลื่อน
กระดูกมีแผลเปิด
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
ลักษณะของข้อเคลื่อน
ลักษณะของกระดูกหัก
การตรวจพบทางรังสี
การรักษา
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์ โรคที่จะเกิดกับกระดูกหักนั้นๆ
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือ ข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
เป้าหมายการรักษา
ระยะแรกจะมุ่งลดความเจ็บปวดอาจช่วย ได้โดยให้ยาลดปวดจัดให้กระดูกที่หักอยู่ นิ่งๆโดยใช้เฝือกดาม ไม้ดาม หรือผ้า พันยืดและพยายามจัดกระดูกให้เข้าที่
ให้อวัยวะนั้นกลับ ทำงานได้เร็วที่สุด
จัดกระดูกให้เข้าที่และ ดามกระดูกให้มีแนว กระดูก (alignment) ที่ยอมรับได้จนกระดูก ที่หักติดดี
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก (fracture of clavicle) เกิดขึ้นกับ เด็กมากที่สุดโดยเฉพาะในเด็กที่อายุต่ำกว่า 10 ปี ส่วน ในทารกอาจเกิดจากการคลอดติดไหล่
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus) ในทารกแรกเกิดมักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ทำคลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยว ออกมาส่วนในเด็กโตอาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอก กระแทกพื้นโดยตรงจะพบหัวไหล่บวม ช้ำ
กระดูกข้อศอกหัก(Supracondylar fracture) พบบ่อยในเด็ก เพราะเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส(Transient subluxation of radial head,pulled elbow) เป็นการเคลื่อนที่ของหัวกระดูกเรเดียส ออกมาจากข้อradio- humeralไม่หมด พบได้บ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี
กระดูกปลายแขนหัก พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไป จนถึงวัยรุ่นเกิดจากการกระทำทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือ เท้าพื้นตกจากที่สงู
กระดูกต้นขาหัก(fracture of femur) พบได้ทุกวัยโดยเฉพาะ อายุ2-3ปีส่วนมากจะเกิดกับเด็กชายมากกว่าเพราะซุกซนกว่า
ภยันตรายต่อข่ายประสาทbrachial plexus จากการคลอด (birth palsy)
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่งแทงของกระดูก
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดเคลื่อนไหว
ป้องกันและลดอาการข้อติดแข็ง
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูกเนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
การพยาบาลเพื่อลดความเครียดวิตกกังวลเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
การพยาบาลเพื่อบรรเทาปวด
จัดท่าให้ผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
ประเมินระดับอาการปวดของผู้ป่วย
การพยาบาลเพื่อให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้านอย่างถูกต้อง
การดึงกระดูก(Traction)
Over Head traction หรือ Skeletal traction the upper limb ใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขนเป็นการเข้า tractionในลักษณะข้อศอกงอ 90 องศากับ ลำตัว ในรายที่ผู้ป่วยแขนหักแล้วมีอาการบวมมาก ยังไม่สามารถ reduce และใส่เฝือกได้
Dunlop’s traction ใช้กับเด็กในรายที่มี Displaced Supracondylar Fracture ที่ไม่สามารถดึงให้เข้าที่(reduce)ได้ หรือในรายที่มีอาการบวมมากบางกรณีใช้เพียง เพื่อดึงให้ยุบบวมแล้วจึง reduce ใหม่
Bryant’s traction ใช้ในเด็กที่กระดูกต้นขาหัก(fracture shaft of femur) ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุไม่เกิน 2 ขวบหรือน้ำหนักไม่เกิน13 กิโลกรัม
Skin traction ใช้ในรายที่มีfacture shaft of femur ในเด็กโต อายุมากกว่า3ขวบขึ้นไปtractionแบบนี้อาจเกิดปัญหา การกดperoneal nerve ทำให้เกดิ foot drop ได
Russell’s traction ใช้ในเด็กโตที่มีFracture shaft of femurหรือfractureบริเวณsupracondyla region of femur การทำ traction ชนิดนี้อาจเกิดปัญหาการผ้าslingที่คล้อง ใต้ขาไปกดเส้นเลือดและเส้นประสาท บริเวณใต้เข่าได้
สาเหตุ
เกิดจากการได้รับอุบัติเหตุนำมาก่อน มีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง เช่น ถูกตี รถชน ตกจากที่สูง หรือ จากการกระตุ้นทางอ้อม เช่น หกล้ม เอามือยันพื้นกระดูกฝ่ามือไม่แตก กลับไปแตกบริเวณเหนือข้อมืออาจเกิด จากกล้ามเนื้อที่เกาะกระดูกถูกฉุดกระฉากแรงเกินไปและอาจเกิดจากมีพยาธิ สภาพของโรคที่ทำให้กระดูกบางหัก แตกหักง่ายเช่น มะเร็งของกระดูก กระดูกอักเสบ
อาการและอาการแสดง
ปวดและกดเจ็บบริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
รอยจ้ำเขียวเนื่องจากมีเลือด ซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมี ลักษณะผิดรูป
บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณ ที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
การผ่าตัดทำ open reduction internal fixation (ORIF)
เพื่อจัดกระดูกใหเ้ข้าที่และอยู่นิ่งโดยใช้โลหะยึดไว้อาจใช้ plate, screw, nail หรือ wire แพทย์จะพิจารณาทำในรายที่กระดูกหักมากเกิดอันตรายต่ออวัยวะโดยรอบ
โรคแทรกซ้อน
โรคกระดูกอ่อน (Ricket
พบได้มากในเด็กอายุ 6 เดือน – 3 ปี จากการขาดวิตามินดี โรคไตที่ทำให้เกิดความผิดปกติของการจับเกาะเกลือแร่ที่กระดูก อ่อนทำให้เกิดความผิดปกติของเนื้อกระดูกทำให้กระดูกหักง่าย
การรักษา
การรักษาสาเหตุ
แบบประคับประคอง
ข้ออักเสบติดเชื้อ (septic arthritis)
สาเหต ุเชื้อเข้าสู่ข้อ เช่น จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ หรือแพร่กระจายจากบรเิวณใกล้เคยีง จากกระแส เลือด เชื้อที่เป็นสาเหตุส่วนใหญ่ เช่น แบคทีเรีย
การรักษา
การผ่าตัด
การให้ยาปฏิชีวะ
Osteomyelitis
อุบัติการณ์พบในเด็กอายุน้อยกว่า13ปีพบมีการติดเชื้อ ที่กระดูกท่อนยาวมากที่สุดเช่น femur,tibia,humerus มักเป็นตำแหน่งเดียวผิดรูปมีผลต่อพัฒนาการเด็ก
การรักษา
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ การดูกตายออก
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
Volkmann’ s ischemic contracture
โรคแทรกซ้อนชนิดหนึ่ง ที่ทำให้แขน มือ และนิ้วหงิกงอ ซึ่ง พบมากในผู้ป่วยที่มีกระดูกหักบรเิวณ supracondylar of humerus และในผู้ป่วยที่มี fracture both bone of forearm
แบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะเริ่มเป็น
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
Bone and Joint infection
Definite(ติดเชื้อกระดูกอย่างแน่นอน)ตรวจพบ เชื้อโรคจากกระดูกหรือเนื้อเยื่อติดกับกระดูก นั้นหรือผลตรวจชิ้นเนื้อแสดงถึงการติดเชื้อผิด รูปมีผลต่อพัฒนาการเด็ก
Probable(น่าจะติดเชื้อที่กระดูก)การติดเชื้อใน เลือดร่วมกับลักษณะทางคลินิคและภาพรังสี
Likely(คล้ายติดเชื้อที่กระดูก)พบลักษณะทางคลินิคและ ภาพรังสีเข้าได้กับการติดเชื้อที่กระดูกตอบสนองดีต่อยาปฏิชีวนะโดยที่ไม่พบเชื้อจากการเพาะเลี้ยง
Club Foot (เท้าปุก)
รูปร่างของเท้าที่มีลักษณะข้อเท้าจิกลง (equinus) ส้นเท้าบิดเข้าใน(varus)ส่วนกลาง เท้าและเท้าด้านหน้าบิดงุ้มเข้าใน (adduction and cavus)
การรักษา
การตัดและใส่เฝือก
การผ่าตัด
การผ่าตัดเนื้อเยื่อ
การผ่าตัดกระดูก
การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก
สาเหตุ
ยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชดั อาจเกิดจาก gene และปัจจยั ส่งเสริม เช่น แมสู่บบุหรี่ขณะ ตั้งครรภ์มีอุบัตกิารณ์ถึง 2.4 เท่า, การติดเชื้อในครรภ
Gastroschisis
การที่มีผนังหน้าท้องแยกจากกันเป็นความ ผิดปกติแต่กำเนิดเกิดเป็นช่องแคบยาวที่ ผนังท้องภายหลังจากผนังช่องท้องพัฒนา สมบูรณ์แล้วเกดิการแตกทะลุของ hermia of umbilical cord
ฝ่าเท้าแบน Flat feet
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาจจะใช้ ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
ฝ่าเท้าของคนปกตเิมื่อยืนจะมีช่องใต้ฝ่าเท้าเรา เรียก arch ในเด็กเล็กจะไม่มี ซึ่งจะเริ่มมี ตอนเด็กอายุ 3-10 ปี ถ้าโค้งใต้ผา่เท้าไม่มี เราเรียกเท้าแบนหรือ flat feet
สาเหตุ
เป็นพันธุกรรมในครอบครัว
เกิดจากการเดินที่ผดิปกติเช่นการเดิน แบบเปด็คือมีการบิดของเท้าเข้าข้างใน
เกิดจากเอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
Cerebral Palsy
ความพิการทางสมอง ซงึ่เด็กจะมีการเคลื่อนไหวร่างกายที่ ผิดปกติ การขยบัแขนขา ลำตัว ใบหน้า ลิ้น รวมถึงการทรง ตัวที่ผิดปกต ิเด็กที่เป็นโรคนี้มักมี ปัญหาในการควบคุมการท้า งานของกล้ามเนื้อปัญหาการพูดคุยและการกินและอาจจะมีปัญหา ในการควบคุมลมหายใจเพื่อเปล่งเสียง จัดเด็กพิการ CP เป็น ภาวะพิการทางสมองชนดิหนึ่ง เดก็พิการซีพี ส่วนใหญ่ สติปัญญาดี ไม่ปัญญาอ่อน ประมาณ 70-80% มีค่า IQ มากกว่า 70 บางรายมีการรับร ู้ความรู้สึกที่ผิดปกติดว้ย
จำแนกโดยลักษณะการเคลื่อนไหวได้ 4 ประเภท
Athetoid CP
มีอาการกล้ามเนื้อไม่ประสานกันทำให้ เด็กควบคุมสมดุลไม่ได้ทำให้โซเซและหกล้มได้ง่าย ประมาณ 1 ใน 4 ของเด็กที่เป็นซีพี จะมีอาการเป็น Atheloid CP
Ataxic CP
กล้ามเนื้อจะยืดหดอย่างไม่เป็นระบบ ระเบียบทำให้ไม่สามารถควบคุมกล้ามเนื้อได้หากเด็กมี ความเก็บกดทางอารมณ์หรือเมื่อเวลาตื่นเต้น กล้ามเนื้อจะยิ่งผิดปกติมากขึ้น
Mixed CP
เป็นการผสมผสานลักษณะทั้งสามคือ เด็กคนเดียว อาจมีลักษณะที่กล่าวมาแล้วโดยประมาณกันว่า 1 ใน 4 ของคนที่ เป็นซีพีจะมีลักษณะของการผสมผสานประเภทนี้
Spastic CP
จะมีอาการกล้ามเนื้อเกร็งแน่นไม่สามารถ หดตัวได้เหมือนกล้ามเนื้อปกติ มีลักษณะแข็งทื่อ
Omphalocele
เป็นความผิดรปูแต่กำเนิดของผนังหน้าท้องโดยที่มีการสร้างผนัง หน้าท้องไม่สมบูรณ์ทำให้บางส่วนขาดหายไปมีแต่เพียงชั้นบางๆที่ ประกอบด้วยเยื่อบุช่องท้องPenitoealและเยื่อamnionประกอบกัน เป็นผนังปิดหน้าท้องคล้ายถุงปกคลุมอวยัวะภายในที่ยื่นออกมาอยู่ นอกช่องท้อง เช่น ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ กระเพาะอาหารและต
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis
การรักษา
การผ่าตัด
ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่หดสั้น ได้ผลดีเมื่อทำในเด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี
การยืดแบบให้เด็กหันศรีษะเอง
การใช้อุปกรณ์พยุง
การยืดโดยวิธีดัด
เป็นลักษณะที่ศีรษะเอียงจากแนวกงึ่กลางไปด้านใดด้านหนงึ่จาก กล้ามเนื้อด้านข้างคอSternocleidomastoidที่เกาะยึดระหว่างกระดูก หลังหูกับสว่นหน้าของกระดูกไหปลาร้าหดสั้นลงทำให้เอียงไปด้านที่ หดสั้นใบหน้าจะบิดไปด้านตรงข้าม
ภาวะกระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
การมีกระดูกสันหลังคดไปด้านข้างร่วมกับมีการ หมุนของปล้องกระดูกสันหลังเกดิความพิการทาง รูปร่างและผิดปกติของทรวงอกรว่มด้วยถ้าหลังคด มากทรวงอกก็จะผิดปกติมากขึ้นด้วยมีอาการซีด สมรรถภาพทางกายเสื่อมมีความผิดปกติขอระบบ ทางเดินหายใจและหัวใจถ้าไม่ไดร้ับการรักษาจะ เกิดความผิดปกติมากขึ้นและอาจทำให้เสียชีวิตเร็ว
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
วัณโรคกระดูกและข้อในเด็กพบร้อยละ 4 ของการติดเชื้อวัณโรคปอด วัณ โรคปอดพบร้อยละ 25 ของวัณโรคในเด็กที่อายุต่ำกว่า 15 ปี และวัณโรค กระดูกสันหลัง (spinal tuberculosis) พบประมาณครึ่งหนงึ่ของวัณโรคกระดูกและข้อทั้งหมด
ต่ำแหน่งที่พบบ่อย ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อ การผ่าตัดระบายหนอง ผ่าตัดเพื่อแก้การกดทับเส้นประสาท
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
พบในเด็กมากกว่าในผู้ใหญ่พบในเพศชายมากกว่า เพศหญิงพบร้อยละ 5 ของโรคมะเร็งในเด็ก
อาการและอาการแสดง
น้ำหนักลด
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้น ๆ
การเคลื่อนไหวของตำแหน่งที่เป็นผิดปกติรับ น้ำหนักไม่ได้มักมีประวัติการเกิดอุบัติเหตุ
มีไข้
การเข้าเฝือกปูน
เตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
การยกหรือเคลื่อนย้ายเดก็ต้องระวังเฝือกหัก
แนะนำเด็กและญาติในการดูแลเฝือก
ระมัดระวงัไม่ใหเ้ฝือกเปียกน้ำ
ประเมินอาการภายหลัง เข้าเฝือกภายใน 24 ชั่วโมง ซึ่งประเมินได้ จาก 5 PS หรือ 6P
Paresthesia
Paralysis
Pallor
Pain
Puffiness or Swelling
Pulselessness
การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
ด้านร่างกาย
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ/ยา/เอกสารใบยินยอม/ผล Lab ผล X-ray
การตรวจวัดสัญญาณชีพ
การดูแลทำความสะอาดร่างกาย อาบน้ำ แปรงฟัน
การเตรียมผิวหนังเฉพาะที่
ด้านจิตใจ
การปฏิบัติตัวภายหลังได้รับยาระงับความรู้สึก
การไออย่างมีประสิทธิภาพ
ขั้นตอนในการผ่าตัดโดยสังเขป
สภาพแวดล้อมภายในห้องผ่าตัด
การพยาบาลผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
การประเมินระดับความเจ็บปวดโดยใช้ Pain scale
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด
ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย ผลข้างเคียงของการวางยา