Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกหัก - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกหัก
โรคที่สามารถพบได้
เท้าปุก (Club foot)
วินิจฉัย
เท้าจิกลงเอียงเข้าด้านใน
การรักษา
การผ่าตัด
การตัดและใส่เฝือก
ฝ่าเท้าแบน (Falt feet)
สาเหตุ
พันธุกรรม
เอ็นข้อเท้ามีการฉีก
อาการ
ปวดฝ่าเท้า
พบตาปลา
ผิวหนังบริเวณฝ่าเท้าหนากว่าปกติ
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
โรคกระดูกอ่อน
สาเหตุ
Hypophosphatasis
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
โรคไตบางชนิดไม่สามารถดูดกลับได้
ดูดแคลเซียมกลับได้น้อย
อาการ
หน้าผากนูน ผมร่วง ฟันขึ้นช้า กะโหลกนิ่ม ขาโก่ง
การรักษา
รักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
ประคับประคอง
Osteomyelitis
อาการ
มีไข้
ปวด ปวดมากเมื่อกด
ภาวะแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
มีผลต่อ Physis ยับยั้งการเจริญเติบโตของกระดูก
ผลทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจรังสี
MRI
Bone scan
Plain Flim
Bonemarrow edema
LAB
ESR
CRP
Leucocytosis
การรักษา
การผ่าตัด
กำจัดหนองออก
ได้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
Bone and Joint infection
อาการ
อุญหภูมิร่างกาย>38.3องศาเซลเซียส
ตอบสนองดีต่อยาปฏิชีวนะ
ปวดช้อ ปวดมากเมื่อขยับ ข้อบวม
สาเหตุ
กระแทกโดยตรง
รถชน ถูกตี ตกจากที่สูง
กระตุ้นทางอ้อม
หกล้ม ใช้มือยันพื้น
อาการ
ปวดและกดเจ็บ
อวัยวะที่บากเจ็บมีลักษณะผิดรูป
รอยช้ำเขียวมีเลือดซึม
กระดูกหักมีเลือดออกทำให้บวม
การประเมินสภาพ
ซักประวัติเรื่องอุบัติเหตุ
ตรวจร่างกาย
กระดูกและข้อต่างๆ
ตรวจทางรังสี
การติดของกระดูก
แคลเซียมเซลล์สร้างกระดูกช่วยผสานรอยแตก
คอลลาเจนไฟเบอร์ช่วยผสานรอยแตก
รักษา
ตามปัญหาและการพยากรณ์โรค
เน้นลดความเจ็บปวดด้วยยาแก้ปวด
จัดกระดูกให้เข้าที่เร็วที่สุด
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อน
ผ่าตัด
แผลเปิดที่กระดูก
กระดูกฟีเมอร์หักและเคลื่อน
ข้อเคลื่อนที่ไม่สามารถเข้าที่ได้โดยไม่ผ่าตัด
กระดูกหักผ่านข้อ
กระดูกหักพี่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก
อาการและอาการแสดง
ปวด บวม
Crepitus คลำได้เสียงกรอบแกรบ
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เกิดได้น้อย
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้าแขนที่ดีระคองข้างที่เจ็บ
การรักษา
ตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดให้ข้อศอกงอ 90 องศา ให้ติดกับลำตัว พันผ้านาน 2 สัปดาห์
ระวังเรื่องการอุ้มเด็กผิดท่า
ใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศาและพันแขนให้ติดกับลำตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าสำลี
คล้องแขนไว้นานประมาณ2-3สัปดาห์
ภยันอันตรายต่อข่ายประสาท Brachial plexus จากการคลอด
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยืด
การคลอดท่าก้น
เด็กมีน้ำหนักมาก
ภาวะคลอดติดไหล่
การรักษา
มีการฟื้นตัวของเส้นประสาท
ไม่จำเป็นต้องรัษาด้วยการผ่าตัด
กระดูกต้นขาหัก
เกิดในเด็กอายุ2-3ปีส่วนมากจะเกิดในเด็กชาย ตำแหน่งที่พบคือ ช่วงกลางของกระดูกต้นขา
เด็กจะปวดข้างที่หักบวมตรงกระดูก
ถ้าอายุต่ำกว่า3ปีแก้ไขโดยให้ใส่เฝือกขาแบบยาวนาน3-4สัปดาห์
การรักษา
Gallow's หรือ Bryant's traction
อายุมากกว่า3ปีทำ Russel's traction
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
การเคลื่อนที่หัวกระดูกเรเดียสออกมาจากข้อ radio-humeral ไม่หมด
สาเหตุ
ความซุกซนและเล่นกันรุนแรง
กระดูกข้อศอกหัก
สาเหตุ
พลัดตกหกล้มบ่อย
การหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง
ปวดบริเวณข้อ
โรคแทรกซ้อน
Volkman's ischemic contracture
กระดูกต้นแขนหัก
สาเหตุ
อาจะเกิดการล้มเหลวแล้วต้นแขน ข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง
การรักษา
ห้อยแขนข้างที่หักไว้ด้วยผ้า คล้องแขนไว้นานประมาณ2-3สัปดาห์
ในรายที่กระดูกหักเคลื่อนออกจากกันมากๆควรตรึงนานประมาณ3สัปดาห์
ทำ Skin traction หรือ Skeletal travtion
กระดูกปลายแขนหัก
เด็กเริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ่นเกิดจากการกระทำทางอ้อม
ตกจากที่สูง
หกล้มเอามือเท้าพื้น
การพยาบาล
ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
ระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำหรือสกปรก
ห้ามผู้ป่วยแกะหรือเอาเฝือกออก
สังเกตอาการผิดปกติที่จำเป็นต้องมารพ.
ลดความเครียดและวิตกกังวล
จัดกิจกรรมให้เปิดโอกาสการระบายออก
สร้างความมั่นใจและความรู้สึกที่ดีแก่เด็กต่อการรักษา
ประเมินสภาพความต้องการทางจิตใจ
ป้องกันการติดเชื้อที่กระดูกเนื่องจากมีแผล
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ประเมินลักษณะอาการที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อ
ทำความสะอาดบาดแผลก่อนเข้าเฝือก
ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
กระตุ้นให้เด็กมีการออกกำลังการบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ
พลิกตะแคงทุก2ชั่วโมง
กินอาหารที่มีกากใยเพื่อไม่ให้ท้องผูก
ป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่ได้รับบาดเจ็บ
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บโดยการสังเกต
การเคลื่อนไหวของข้อต่างๆ
สังเกตและคลำดูความสอดคล้องของอวัยวะ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง นุ่มนวล
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน ดึงกระดูก ผ่าตัดทำ(ORIF)
ชนิด traction ที่ใช้รักษา
Skin traction facture shaft of femur
อาจะเกิดปัญหาการกด peroneal nerve
ทำให้เกิด foot drop ได้
Skeletal traction the upper limb
ใช้รักษากระดูกหักที่ต้นแขน
ในลักษณะข้อศอกงอ90องศา
Russell's traction Fracture shaft of femur
อาจเกิดปัญหาการผ้าslingที่คล้องใต้ขากด
เส้นเลือดและเส้นประสาทบริเวณใต้เข่าได้
Dunlop's traction
ใช้ในเด็ก Displaced Supracondylar Fracture
ไม่สามารถดึงให้เข้าที่ได้
Bryant's traction
เด็กที่กระดูกต้นขาหัก
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
กระดูกสันหลังคด
การผ่าตัดมีการพิการของกระดูก
กระดูกสันหลังโค้งด้านหลัง หายใจตื้น ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่ได้อยู่ระดับเดียวกัน
ป้องกันไม่ให้โรคเป็นมากขึ้น แก้ไขหรือลดความพิการ ป้องกันและลดความเจ็บปวด เน้นกายภาพบำบัดและบริหารร่างกาย
โรคคอเอียงแต่กำเนิด
อาการ
คลำพบก้อนตรงข้างคอด้านเอียง ก้อนจะค่อยๆยุบไป
การรักษา
ผ่าตัด
ยืดกล้ามเนื้อคอ
Volkman's ischemic contracture
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็ว
ห้ามงอข้อศอกมากเกินไป
ควรใช้Slabใส่ทางด้านหลังแขน
ยกบริเวณที่หักให้สูงกว่าระดับหัวใจ
ระยะเริ่ม ระยะอักเสบของกล้ามเนื้อ ระยะหดกล้ามเนื้อ หากมีอาการบวม เจ็บ ซึ่งทำให้เลือดเดินไม่สะดวกควรรีบมาพบแพทย์