Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Preipitate labor (คลอดเฉียบพลัน), นางสาวกมลชนก เอียดดำ 601001004 - Coggle…
Preipitate labor (คลอดเฉียบพลัน)
ความหมาย
การคลอดที่เกิดขึ้นเร็วกว่าปกติ ใช้เวลาทั้งหมด 3 ชม. (2-4 ชม.)
การพยาบาล
ดูเเลตามอาการ กรณีที่มีภาวะคลอดเฉียบพลัน
ใช้ผ้าสะอาดกดบริเวณฝีเย็บ พร้อมมืออีกข้างกดหัวทารกให้ก้มลงก่อนที่หัวจะคลอด
กรณีมารดาไม่สามารถหยุดเบ่ง เเละศีรษะทารกออกมาเเล้วให้หกางขามารดาออก
กระตุ้นให้มารดาหายใจเเบบตื้นๆ เร็วๆ เบาๆ เข้าออกทางปากเเละจมูกเพื่อคุมไม่ให้เบ่งเร็ว
จับให้ทารกนอนศีรษะต่ำ ตะเเคงหน้าด้านใดด้านหนึ่ง เเละดูดน้ำคร่ำในปาก จมูกออก
ระยะหลังคลอดให้การดูเเลอย่างใกล้ชิด
มารดามีประวัติคลอดเร็ว ต้องระมัดระวังในการให้การพยาบาล
ประเมินการเปิดขยายเเละความบางของปากมดลูก
มารดาที่มีประวัติคลอดเร็วเมื่อ Cx.=5 รีบพาเข้าห้องคลอด
ประเมินเเละบันทึกการหดรัดตัวมดลูก และฟัง FHS ทุก 30 นาที
เเนะนำการรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ุ
ภาวะเเทรกซ้อนต่อทารก
เลือดออกในสมอง (subdural hemorrhage) เกิดจากหัวทารกกระทบกับเเรงต้านของพื้นเชิงกรานช่องคลอดเเละฝีเย็บอย่งรวดเร็วทำให้ความดันภายในสมองลดลงรวดเร็วจึงเกิดเลือดออกในสมอง ทารกมักเกิดภาวะปัญญาอ่อน
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อเเขนถูกดึงมากไป ทารกยกมือไม่ได้ เเขนข้างที่เป็นบิดติดกับลำตัวเเละฝฝ่ามือหันไปด้านหลัง เรียกว่า Erb'palsy
Asphyxia เนื่องจากรกลอกตัวก่อนกำหนด หรือมดลูกหดรัดตัวรุนเเรงเเละเร็ว
ทารกได้รับบาดเจ็บจากช่วยคลอดไม่ทัน
สายสะดือขาด/สั้น/รกยังไม่ลอกตัว
ทารกติดเชื้อ
คลอดออกมาทั้งถุงน้ำคร่ำ ทารกสำลักน้ำคร่ำได้ เช่น preterm
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ทารกเป็น subtemp. จากการช่วยเหลือช้า
สาเหตุเเละปัจจัยส่งเสริม
ผู้คลอดเชิงกรานกว้าง
มีประวัติคลอดเฉียบพลัน
ผู้คลอดครรภ์หลังมีเนื้อเยื่อยืดขยายมาก
ผู้คลอดไม่รู้สึกเจ็บปวดจากการคลอด หรือไม่รู้สึกอยากเบ่ง
การหดรัดตัวของมดลูกเเละกล้ามเนื้อหน้าท้องเเรงผิดปกติ อาจเกิดขึ้นเองหรือยาเร่งคลอด
ทารกตัวเล็กหรืออายุครรภ์น้อยกว่ากำหนด ทำให้เคลื่อนต่ำลงมาง่าย
เเรงต้านทานของเนื้อเยื่อที่ช่องคลอดไม่ดี
ผู้คลอดที่ไวต่อยาหดรัดตัวมดลูก
อาการเเละอาการเเสดง
มดลูกหดรัดตัวถี่เเละรุนเเรง มากกว่า 5 ครั้งใน 10 นาที
PV ปากมดลูกเปิดขยายเร็ว
ครรภ์เเรก เปิด 5 cm/ชม.
ครรภ์หลัง เปิด 10 cm.หรือมากกว่า 10 cm/ชม.
เจ็บครรภ์มาก
การวินิจฉัย
อัตราการเปิดขยายปากมดลูก เปิด > 5 cm./ชม. ในครรภืเเรก เเละ > 10 แท./ชม. ในครรภ์หลัง
การหดรัดตัวมดลูกถี่เเละรุนเเรง D=2,I > 90 นาที ไม่มีระยะพัก
ระยะเวลาในการเจ็บครรภ์เเละคลอดน้อยกว่า 3 ชม.
ความดันภายในโพรงมดลูก 50-70 mmHg.
ภาวะเเทรกซ้อนต่อมารดา
ติดเชื้อที่เเผลฉีกขาด
ตกเลือดหลังคลอด
เนื้อเยื่อบริเวณช่องทางคลอดเกิดการฉีกขาด
เกิดภาวะน้ำครำอุดตัน
มดลูกเเตกจากการหดรัดตัวรุนเเรง
เลือดคั่งใต้ชั้นผิวหนังที่ฉีกขาด
มดลูกปลิ้นเนื่องจากความดันโพรงมดลูกลดลงรวดเร็ว
การรักษา
หยุดยากระตุ้นหดรัดตัวมดลูก เเละให้ยายับนั้งการหดรัดตัวเเทน
ดูเเลตามอาการ
ในรายที่คลอดเฉียบพลันให้ยาปฏิชีวนะเเละยา methergin ป้องกันตกเลือด
ผ่าตัดคลอด ในรายที่มีภาวะเเทรกซ้อนจากมดลูกเเตก
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ทารกอาจได้รับอันตรายจากการคลอดเฉียบพลัน
อาจเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดจากการคลอดเฉียบพลัน
เจ็บครรภ์มากเนื่องจากมดลูกหดรัดตัวเเรงเเละถี่มาก
วิตกกังวล/กลัวอันตรายที่จะเกิดขึ้นเนื่องจากการคลอดเฉียบพลัน
ช่องทางคลอดอ่อนมีโอกาสฉีกขาดมากผิดปกติเนื่องจากการคลอดเฉียบพลัน
การประเมินสภาพ
ตรวจร่างกาย
PV
ดูการหดรัดตัวมดลูก
ฟัง FHS และ monitor EF
ภาวะจิตสังคม
ซักประวัติ
ความไวต่อการเร่งคลอด
ลักษณะอาการเจ็บครรภ์
ประวัติการคลอดเฉียบพลัน
นางสาวกมลชนก เอียดดำ 601001004