Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หหักได้รับ บาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
1,ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ โดยการสังเกต คลำดูความสัมพันธ์ของอวัยวะ การเคลื่อนไหวของข้อต่าง ๆ
2.จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน
Pulselessness ชีพจรเบา,เย็น
Pallorปลายมือปลายเท้าซีด หรือเขียวคล้้า
Paresthesia ชา ขาดความรู้สึก
Paralysis เส้นประสาทถูกกด เคลื่อนไหวไม่ได้
Pain มีอาการเจ็บมากกว่าเดิม
Puffiness or Swelling มีอาการบวมมากขึ้น
ดึงกระดูก( traction)
ดูแลแรงดึงสมดุลเพียงพอกับน้ าหนักผู้ป่วย 1/5 ปอนด์ ต่อน้ำหนัก 1 กิโลกรัม
ขณะดึงกระดูกควรจัดท่านอนของเด็กให้ถูกต้องตามชนิดของ Traction
การดูแลให้การดึงกระดูกมีประสิทธิภาพตลอด
ชนิดของ Traction
Bryant’s traction ( fracture shaft of femur )
Over Head traction traction ในลักษณะข้อศอกงอ 90 องศา
Dunlop’s traction ใช้กับเด็กในรายที่มี Displaced Supracondylar Fracture
Skin traction อาจเกิดปัญหาการกด peroneal nerve ท้าให้เกิด foot drop ได้
Russell’s traction เกิดปัญหาการผ้า sling ที่คล้องใต้ขาไปกด เส้นเลือดและเส้นประสาทบริเวณใต้เข่าได้
ORIF
เพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่และอยู่นิ่งโดยใช้โลหะยึดไว้
ใช้ plate , screw, nail หรือ wire แพทย์จะพิจารณาท้าในรายที่กระดูกหักมาก เกิดอันตรายต่ออวัยวะโดยรอบ
Volkmann’s ischemic contracture
ข้อศอกอาจจะงอ นิ้วจะงอทุกนิ้ว
ข้อมือพับลง (palmar flemion)
แขนอยู่ในท่าคว่ำมือ (pronation)
ข้อ metacarpophalangeal กระดกขึ้น หรือมี extension
ข้อเกือบทุกข้อจะแข็ง บางรายอาจจะกระดิกได้
กล้ามเนื้อมือลีบ เหมือนกับมีอัมพาต
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)