Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ, นางสาวธมนวรรณ บุญนิ่ม เลขที่…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกหัก
กระดูกแยกออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกหรือมีเพียงบางส่วนติดกัน หรือเป็นเพียงแตกร้าว
สาเหตุ
เกิดจากการได้รับอุบัติเหตุกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรงอาจ
เกิดจากมีพยาธิสภาพของโรคที่ท้าให้กระดูกบางหักแตกหักง่าย
อาการและอาการแสดง
มีอาการปวดและกดเจ็บ
บวมเนื่องจากมีเลือดออก
รอยจ้้าเขียว
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การติดของกระดูกเด็ก
สิ่งที่สร้างขึ้นมาประสานรอยร้าวหรือรอยแตกของกระดูก
คอลลาเจนไฟเบอร์
แคลเซี่ยม เซลล์สร้างกระดูก
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
ลักษณะของกระดูกหัก
ลักษณะของข้อเคลื่อน
การตรวจพบทางรังสี
กระดูกไหปลาร้าหัก
อาการและอาการแสดง
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
Crepitus คล้ำได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ
การรักษา
ทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา ให้ติดกับลำตัว พันนาน 10-14 วัน
เด็กอายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ ข้อศอกงอ 90 องศา และพันแขนให้ติดกับลำตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าสำลี คล้อง แขนไว้นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก
ทารกแรกเกิดมักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ทา้คลอด สอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
เด็กโต อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอก กระแทกพื้นโดยตรง
อาการ
พบหัวไหล่บวม ช้้า เวลาจับไหล่ หรือแขนให้มีการเคลื่อนไหวจะเจ็บปวด
การรักษา
ให้ห้อยแขนข้างที่หักไว้ด้วยผ้าคล้องแขนไว้นานประมาณ 2 - 3 สัปดาห์
่กระดูกหักเคลื่อนออก จากกันมากๆควรตรึงแขนด้วย traction นาน ประมาณ 3 สัปดาห์
กระดูกข้อศอกหัก
เอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรงหรือข้อศอกงอ
โรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น “ Volkman’s ischemic contracture ”
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
หัวกระดูกเรเดียสออกมาจากข้อ radio- humeral ไม่หมด
กระดูกปลายแขนหัก
เกิดจากการกระทำทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น
กระดูกต้นขาหัก
อายุ 2 - 3 ปี ส่วนมากจะเกิดกับเด็กชายมากกว่า
ต้าแหน่งที่พบคือ ช่วงกลางของ กระดูกต้นขา
ภยันตรายต่อข่ายประสาท
เกิดอาการแขนอ่อนแรง
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด
การคลอดท่าก้น
ภาวะคลอดติดไหล่
การวินิจฉัย
เห็นแขนที่ผดิปกติเคลอื่นไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา
จะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่จำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หกัได้รับ บาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน
ดึงกระดูก( traction)
Bryant’s traction
Over Head traction
Dunlop’s traction
Skin traction
Russell’s traction
ผ่าตัดทำ ORIF
ด้านร่างกาย
เตรียมผิวหนังเฉพาะที่
ดูแลความสะอาดของร่างกาย ดูฟันโยก
ตรวจวัดสัญญาณชีพ
ประเมินอาการของระบบประสาท
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ด้านจิตใจ
สภาพแวดล้อมภายในห้องผ่าตัด
ขั้นตอนในการผ่าตัด
การปฏิบัติตัวภายหลัง
การไออย่างมีประสิทธิภาพ
การพยาบาลผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
การประเมินระดับความเจ็บปวดโดยใช้ pain scale
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจาก การถูกจ้ากัดเคลื่อนไหว
ป้องกันและลดอาการข้อติดแข็งและกล้ามเนื้อลีบ
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ
ลดอาการท้องผูกด้วยการกระตุ้นให้เด็กมีการเคลื่อนไหว
ช่วยให้ปอดขยายตัวเต็ม
ประเมินอาการและอาการแสดง
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูก เนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
ท้าความสะอาดบาดแผลก่อนการเข้าเฝือก
ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อ
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่จะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
Volkmann’ s ischemic contracture
ลักษณะรูปร่างของนิ้ว มือ และแขนใน
แขนอยู่ในท่าคว่ำมือ
ข้อศอกอาจจะงอ
ข้อมือพับลง
ข้อ metacarpophalangeal กระดกขึ้น หรือมี extension
นิ้วจะงอทุกนิ้ว
อาจมีอัมพาต
กล้ามเนื้อแขนลีบแข็ง
สาเหตุ
ขาดเลือดไปเลี้ยง หรือมีเลือดไปเลี้ยงน้อยเนื่องจากเส้นเลือดแดงและเส้นเลือด ดา ถูกกด หรือถูกเสียดสีจนช ้าท าให้เลือดไหลกลับไม่ได้กล้ามเนื้อจะบวมตึง
แบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะเริ่มเป็น
มีบวม เห็นได้ชัดที่นิ้ว
เจ็บและปวด มีอาการชา
นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้
ชีพจร คลำไม่ได้ชัด หรือไม่ได้
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อ บวม ตึง แข็ง และมีสีคล้ำ
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
การหดตัวเกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อ
การหดตัวเกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อ Pronator และ flexor
วิธีป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุด
อย่างอข้อศอกมากเกินไปขณะที่ใส่เฝือก
ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพันด้วยผ้าพันธรรมดา
แนะนำผู้ป่วยปฏิบัติตัวให้ถูกต้องหลังเข้าเฝือก
ยกบริเวณที่หักให้สูงกว่าระดับหัวใจตลอดเวลา
ถ้ามีอาการบวมมาก ควรรีบปรึกษาแพทย์ทันที
ถ้าเกิดอาการปวดบวมหรือชา จะต้องรีบปรึกษาแพทยเ์พื่อตัดเฝือกออกทันที
โรคคอเอียงแต่กำเนิด
อาการ
พบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อย ๆ ยุบลงไป
ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง ศีรษะบิดเบี้ยว ไม่สมดุล
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่หดสั้น
การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch)
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง (active streth)
การใช้อุปกรณ์พยุง
การผ่าตัด
กระดูกสันหลังคด
พยาธิสรีรภาพ
การเจริญผิดปกติของกระดูกสันหลัง
ท้าให้ข้อคดงอ ขายาวไม่เท่ากัน
ทำให้เกิดการเสื่อมของข้อด้านโค้ง เว้า บางรายอาจมีข้อติด หลังคดไปด้านข้าง กล้ามเนื้อไม่สมดุล ทำให้ปวดหลัง พิการสูญเสียภาพลักษณ์
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษอื่น ๆ
อาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด มักหายใจตื้น
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลำตัว
ส่วนด้านโค้งออก จะฝ่อลีบและบาง
ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน
มีอาการปวดเมื่อหลังคดมาก
เริ่มมีอาการเมื่ออายุน้อยยิ่งมีความพิการมาก
การรักษา
ป้องกันไม่ให้โรคเป็นมากขึ้น
แก้ไขหรือลดความพิการ
ป้องกันและลดความปวด
ปรับปรุงสมรรถภาพของปอดและหัวใจ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ให้กระดูกสันหลังมีความสมดุลและแข็งแรง
การพยาบาล
แนะนำการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
ดูแลความไม่สุขสบายจากความปวดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลัง
ป้องกันการติดเชื้อที่แผลและเกิดแผลกดทับ
แนะนำการปฏิบัติตัวในการใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว
โรคกระดูกอ่อน
โรคของเมตาบอลิซึมของกระดูก ความบกพร่องในการจับ เกาะของเกลือแร่บนเนื้อกระดูกอ่อน
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้
โรคไตบางชนิดทำให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟต
ภาวะฟอสเฟตต่ำ (Hypophosphatasia) จากขาด Alkaline Phosphatase
อาการ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง หลังแอ่น
ส่วนหลังของกะโหลกศีรษะแบนราบลง
กระดูกสันหลังคดหรือหลังค่อม
การรักษา
การรักษาสาเหตุ
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
การรับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม
ให้ออกกำลังกายกระตุ้นการสร้างของกระดูก
ระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม
แบบประคับประคอง ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
Bone and Joint infection
การวินิจฉัยการติดเชื้อที่ข้อ
มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาธิสภาพอื่น ๆ ร่วม
ปวดมากเมื่อขยับข้อ
อุณหภูมิร่างกาย > 38.3 องศาเซลเซียส
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
ข้อบวม
มีอาการปวดข้อ
Probable การติดเชื้อในเลือด ร่วมกบัลกัษณะทางคลินิค และภาพรังสี
Definite ตรวจพบเชื้อโรคจากกระดูกหรือเนื้อ เยื่อติดกับกระดูกนั้นหรือผลตรวจชิ้นเนื้อแสดงถึงการติดเชื้อ
Likely พบลกัษณะทางคลนิิคและภาพรังสีเข้าได้กับการติดเชื้อ ที่กระดูกตอบสนองดีต่อยาปฏิชีวนะโดยที่ไม่พบเชื้อจากการเพาะเลี้ยง
Osteomyelitis
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัดเอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
ภาวะแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
กระทบต่อ physis เป็นส่วนเจริญเติบโตของกระดูก
สาเหตุ
เชื้อรา
เชื้อแบคทีเรีย
กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอก
การวินิจฉัย
ประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจทางรังสี
พบในเด็กอายุน้อยกว่า 13 ปี
ข้ออักเสบติดเชื้อ (septic arthritis)
สาเหตุ
จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ
เชื้อเข้าสู่ข้อ
การแพร่เชื้อโรคจากกระแสเลือด
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิค มีไข ้ มีการอกัเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3
ผล Lab เจาะดูดน้ำในข้อ (joint aspiration)
การตรวจทางรังสี
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อน
การเจริญเติบโตตามความยาวกระดูกและการทาำหน้าที่เสียไป
ข้อเคลื่อน (Dislocation)
ข้อถูกทำลาย (joint destruction)
หัวกระดูกข้อสะโพกตายจากการขาดเลือด
Tuberculous Osteomyelitis
ตำแหน่งที่พบบ่อย
ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ
เชื้อเจริญเติบโตและแพร่กระจายผ่านทาง lympho- hematogenous
อาการและอาการแสดง
อาการจะเริ่มแสดงหลังการติดเชื้อประมาณ 1 – 3 ปี
กระดูกจะบางลงหรือแตกนอกกระดูกเกิดเป็นโพรงหนอง
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด มีไข้ต่ำๆ
การตรวจทางรังสี
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อ การผ่าตัดระบายหนอง
อาการแทรกซ้อน
กระดูกสันหลังค่อม
อัมพาต
Club Foot (เท้าปุก)
ข้อเท้าจิกลง (equinus) ส้นเท้าบิดเข้าใน (varus) ส่วนกลางเท้าและเท้าด้านหน้าบิดงุ้มเข้าใน (adduction and cavus)
สาเหตุ
อาจเกิดจาก gene และปัจจัยส่งเสริม
แบบทราบสาเหตุ
positional clubfoot
teratologoc clubfoot
neuromuscular clubfoot
แบบไม่ทราบสาเหตุ
พบตั้งแต่กำเนิด
พยาธิสภาพ
ระยะสร้างกระดูกเท้า กลไกการสร้าง Catilage anlage ที่เป็นเนื้อเยื่อ ต้นแบบของกระดูกเทา้ผดิปกติ
รูปร่าง และขนาดจะบิดผิดรูปไปจากเท้าปกติ โดยเฉพาะ กระดูก talus , calcaneus , navicular และ cuboid bone
การวินิจฉัย
ดูลักษณะรูปร่างเท้าตามลักษณะตามคำจำกัดความ
การรักษา
การดัดและใส่เฝือก
การผ่าตัด
การผ่าตัดเนื้อเยื่อ
การผ่าตัดกระดูก
การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก
ฝ่าเท้าแบน
เริ่มมีตอนเด็กอายุ 3-10 ปี ถ้าโค้งใต้ผ่าเท้าไม่มีเราเรียกเท้าแบนหรือ flat feet
อาการ
อาจจะมีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเทา้จะหนาผิดปกติ
รองเท้าจะสึกเร็ว
ปวดฝ่าเท้า
มีอาการปวดน่อง เข่า และปวดสะโพก
สาเหตุ
พันธุกรรมในครอบครัว
การเดินที่ผิดปกติ
เอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาจจะใช้ ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
น้ำหนักลด
มีไข้
การเคลื่อนไหวของตำแหน่งที่เป็นผิดปกติ
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้น ๆ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ ระยะเวลาการมีก้อนเนื้อ
การตรวจร่างกาย ตำแหน่งของก้อน
การตรวจทางหอ้งปฏิบัติการ MRI
การรักษา
การผ่าตัด
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
การพยาบาล
ไม่สุขสบายจากการปวดแผลผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของกระดูก
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากเคมีบำบัดและรังสีรักษา
มีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเ
Omphalocele
มีการสร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ทำให้บางส่วนขาดหายไป
ลักษณะทางคลินิก
อวัยวะที่อยู่ ในถุงอาจประกอบไปด้วยลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ กระเพาะอาหาร ม้าม และตับ
การรักษา
conservative
ทำโดยใช้สารละลายฆ่าเชื้อ
ผลการแทรกซ้อนของการรักษาด้วยวิธีนี้อาจเกิดการดูดซึมสาร ที่เราใช้ทาในปริมาณ มากพอจนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
เหมาะสำหรับในรายที่ omphalocele มีขนาดใหญ่
operative
การเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย
การปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นข้ันตอน
Gastroschisis
เป็นความผดิปกติแต่กำเนิดเกิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังท้องภายหลังจากผนังช่องท้อง พัฒนาสมบูรณ์แล้ว เกิดการแตกทะลุของ hermia of umbilical cord
การวินิจฉัย
พบว่าที่หน้าท้องทารกจะพบถุงสีขาวขุ่นบาง
การพยาบาล
การดูแลโดยทั่วไป
การอาบน้ำไม่ต้องทำ เนื่องจากจะทำให้เด็กตัวเย็นมากขึ้น
การรักษาความอบอุ่น
ประเมินภาวะทั่วไป ความสามารถในการหายใจ
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด
เช็ดทำความสะอาด ลำไส้ส่วนที่ สกปรก ป้องกันการติดเชื้อ
การดูแลหลังผ่าตัด
จัดท่านอนหงาย
สังเกตการหายใจ
ตรวจดูว่ามี dischargeออกมาจากแผล
Fluid and nutrition support
Peripheral parenteral nutrition
Enteral nutrition
Antibiotic prophylaxis
Wound care
นางสาวธมนวรรณ บุญนิ่ม เลขที่ 34 ห้อง A รหัสนักศึกษา 613601035