Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท :!!: - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท :!!:
ความไม่รู้สึกตัว
เป็นภาวะการทำงานของสมอง ที่ไม่มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ระดับของความรู้สึกตัว
ระดับความรู้สึกตัวดี (Full consciousness)
ความรู้สึกสับสน (Confusion)
การรับรู้ผิดปกติ (Disorientation)
ระดับความรู้สึกตัวง่วงงุน (Lethargy / Drowsy)
ระดับความรู้สึก Stupor
ระดับหมดสติ (Coma)
ท่าทางของเด็กในภาวะไม่รู้สึกตัว
Decorticate posturing
ท่าที่เด็กนอนหงาย งอแขนทั้ง 2 ข้าง เข้าหาตัว ในระดับไหล่ กำมือแน่นและงอข้อมือทั้ง 2 ข้าง ส่วนขาทั้ง 2 ข้าง เหยียดปลายเท้าออก งอปลายเท้าเข้าหากัน
Decerebrate posturing
ท่าที่เด็กนอนหงาย แขทั้ง 2ข้างเกร็ง เหยียดออก และคว่ำแขนลงโดยบิดข้อมือออกด้านข้าง ขาทั้ง 2 ข้างเกร็ง เหยียดออกและแยกออกจากกัน
ภาวะไม่รู้สึกตัว ร่วมกับการเคลื่อนไหวผิดปกติ
อาการสำคัญ คือ ชักเกร็ง ซึม ไม่ดูดนม
กรณีที่ 1
ไม่มีไข้ สมองได้รับบาดเจ็บ เนื้องอกในสมอง โรคลมชัก
กรณีที่ 2
มีไข้ การอักเสบติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมอง สมองและไขสันหลัง
กรณีที่ 3
มีไข้สูง เกิน 38 องศา อายุประมาณ 6เดือน - 5ปี ไม่มีการติดเชื้อของระบบประสาท Febrile convulsion
ภาวะชักจากไข้สูง
ปัจจัยเสี่ยงของการชักซ้ำ
1.อายุ โดยเฉพาะเด็กที่มีอาการชักครั้งแรกในช่วงอายุก่อน 1 ปี
2.มีความผิดปกติของระบบประสาทก่อนมีอาการชัก
3.ประวัติการชักของสมาชิกในครอบครัว
4.ไข้ที่เกิดร่วมกับการติดเชื้อ
สาเหตุ
การติดเชื้อในระบบต่างๆ ที่ไม่ใช่ระบบประสาท เช่น ติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร
อาการ
เด็กจะมีอาการชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส อาการชักเกิดขึ้นภายใน 24 ชม.แรกที่เริ่มมีไข้
ชนิดของการชักจากไข้สูง
1.Simple febrile seizure (primary febrile seizure)
มีไข้ร่วมกับชักในเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี
ชักเป็นแบบทั้งตัว (generalized seuzure)
เกิดระยะสั้นๆ ไม่เกิน 15 นาที
ไม่มีการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
ก่อน - หลัง ชักไม่มีอาการทางประสาท
2.Complex febrile seizure
ชักเฉพาะที่ หรือทั้งตัว
ระยะเวลาชักเกิดนานมากกว่า 15 นาที
เกิดการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
หลังชักจะมีอาการผิดปกติของระบบประสาท
การประเมินสภาพ
1.การซักประวัติ
ไข้ ติดเชื้อ ประวัติครอบครัว การได้รับวัคซีน
2.ประเมินสภาพร่างกาย
3.ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
4.การตรวจพิเศษอื่นๆ
โรคลมชัก Epilepsy
อุบัติการณ์
พบได้บ่อยในเด็กโรคระบบประสาท
พบบ่อยในเด็กอายุ 2-5 ปี และเกิดในเพศชายมากกว่าเพศหญฺง
สาเหตุ
1.ทราบสาเหตุ
ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง อันตรายระหว่างคลอด/หลังคลอด ความผิดปกติของสมดุลเกลือแร่ในร่างกาย น้ำตาลในเลือดต่ำ สารพิษและยา โรคทางพันธุกรรม
2.ไม่ทราบสาเหตุ
จากความผิดปกติของ Neurotransmission ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของยีน
3.กลุ่มหาสาเหตุไม่ได้
มีพยาธิสภาพในสมอง จัดอยู่ในกลุ่ม Symtomatic epilepsy
อาการและอาการแสดง
Preictal period คือ ระยะก่อนชัก
1.อาการนำ (Seizure prodromes)
อาการยางอย่างที่นำมาก่อนมีอาการชัก อาจเกิดนานหลายนาที ชั่วโมงก่อนชัก ไม่มีอาการชำเพาะ
2.อาการเตือน (Auru)
ลักษณะอาการเตือนแตกต่างกันตามตำแหน่งของสมอง เช่น มีอาการปวด ชา
Ictal event หรือ Peri-ictal period ระยะที่เกิดอาการชัก
เกิดขึ้นทันทีทันใด
เกิดในระยะเวลาสั้นๆ ไม่เกิน 5 นาที และหยุดเอง มีส่วนน้อยที่ชักและดำเนินต่อเนื่อง
เกิดขึ้นเองแต่บางครั้งมีปัจจัยกระตุ้น
ส่วนใหญ่มีลักษณะเหมือนกันทุกครั้ง
Postictal peroid ระยะเมื่อการชักสิ้นสุดลง
Postical paralysis
กล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉพาะที่
Automatism
การเคลื่อนไหวร่างกายไปโดยอัตโนมัติขณะชัก
Interictal peroid ช่วงเวลาระหว่างการชัก
ชนิดของโรคลมชักและกลุ่มอาการชัก
อาการชัก้ฉพาะที่ (Partial / Focal seizure)
1.1.ชักเฉพาะที่แบบมีสติ
1.2.ชักเฉพาะที่แบบขาดสติ
1.3ชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว
อาการชักเหม่อ (Absence)
กลุ่มอาการชักเหม่อแบบตรง
อาการชักเหม่อที่ไม่รู้ตัว หรือไร้สติ
อาการชักเหม่อที่มีอาการกระตุกหรือสะดุ้งเป็นช่วงๆ
อาการชักเหม่อที่มีอาการตัวอ่อนร่วมด้วย
อาการชักเหม่อที่มีอาการเกร็งกล้ามเนื้อร่วม
อาการเกร็งกระตุก (Tonic clonic seizures)
ชักเกร็งกระตุกทั้งตัว ผู้ป่วยจะหมดสติ มีอาการเกร็งกล้ามเนื้อทั้งตัวนานไม่เกิน 30 วินาที ตามมด้วยกล้ามเนื้อกระตุกเป็นจังหวะนานประมาณ 1-2นาที แต่ไม่เกิน 5 นาที
อาการชักกระตุก (Clonic seizures)
ชักเป็นจังหวะ
อาการชักเกร็ง (Tonic seizures)
ชักที่มีลักษณะเกร็งแข็งจากกล้ามเนื้อมีความตึงตัวมากขึ้น
อาการชักตัวอ่อน (Atonic seizures)
ชักที่มีการเสียความตึงตัวของกล้ามเนื้ออย่างทันทีเมื่อเกิดอาการชัก
อาการชักสะดุ้ง (Myoclonic seizures)
ชักที่มีลักษณะสะดุ้ง
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
เป็นการอักเสบเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมองชั้นในสุดและอแรคนอยด์ที่อยู่รอบๆ สมองและไขสันหลังถูกทำลาย
อุบัติการณ์
มักจะเกิดในช่วงหน้าหนาว เพราะเป็นช่วงที่ระบบต้านทานในทางเดินหายใจทำงานน้อยลง
เกิดจากเชื้อไวรัส นิวโมคอคคัส H.Influenzae และ เมนิงโกคอคคัส
เดิกในเด็กอายุระหว่าง 2 เดือน ถึง 7 ปี
อาการและอาการแสดง
ไข้สูง
หนาวสั่น
ปวดศีรษะรุนแรง
ปวดข้อ
ชัก ซึม หมดสติ
มีอาการคอแข็ง (Nuchal rigidity)
การประเมินสภาพ
Meningeal Irritation
การตรวจน้ำไขสันหลัง
โรคไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal Meningitis)
เชื้อสาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides
การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจ
วิชาทางชีวเคมี และวิธี PCR
วิธีตรวจหาค่าMinimum inhibition concentration (MIC)
วิธี semonested - PCR
ระยะติดต่อ
ผู้ป่วยสามารถแพร่เชื้อโรคไดเจนกว่าจะตรวจไม่พบเชื้อในน้ำมูก น้ำลาย แล้ว ปกติเชื้อจะหมดไปจาดโพรงจมูกด้สานหลัง ของผู้ป่วยภายใน 24 ชั่วโมง
วิธีติดต่อ
ติดต่อจากคนสู่คน เชื้อจะออกมาทางละอองน้ำมูก น้ำลาย จากปากหรือจมูกของผู้ที่เป็นพาหะ
แบบไม่มีอาการ หรืออาการน้อย เกิดการอักเสบเฉพาะที่เล็กน้อย
แบบเชื้อแพร่เข้ากระแสเลือดหรือเลือดเป็นพิษ
แบบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
อาการและอาการแสดง
ไข้
ปวดศีรษะรุนแรง
อาเจียน
คอแข็ง
อาจมีผื่นแดง
จ้ำเลือด
Meningococcemia
Acute Meningococemia
Chronic Meningococcrmia
Meningitis
การรักษา
Glucocorticoid therapy ก่อนการให้ยาปฎิชีวนะ 15 นาที
ยาปฎิชีวะนะ
Ceftriaxone
PGS
Chloramphenicol
การรักษาแบบประคับประคองตามอาการ
การป้องกันผู้สัมผัสโรค
บุคคลที่อยู่ร่วมบ้านกับผู้ป่วย ต้องได้นับยาป้องกัน
Rifampicin
Ceftriaxone
Ciprofloxacin
การควบคุมป้องกันโรค
ให้ความรู้และประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคแก่ประชาชน
ใช้วัคซีนป้องกันโรค
สำหรับนักท่องเที่ยวที่เดินทางไปยังพื้นที่ระบาด ให้ฉีดวัคซีนป้องกัน
การป้องกันสำหรับผู้สัมผัสโรค รีบให้ยาฆ่าเชื้อแก่ผู้ที่สัมผัส
มาตราการเมื่อเกิดการระบาด
ต้องดำเนินการเฝ้าระวังอย่างเข้มงวด
ลดความแออัดหนาแน่นของผู้ที่ต้องอยู่ร่วมกัน
ใช้ยา rifampicin แก่ผู้ที่สัมผัสใกล้ชิด
การใช้วัคซีนป้องกันโรคในประชาชนทุกกลุ่มอายุ
ให้คำแนะนำสำหรับการป้องกันสำหรับประชาชน
มาตราควบคุมป้องกันโรคระหว่างประเทศ
ผู้ที่เดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ และ อุมเราะห์ ต้องได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้กาฬหลังแอ่น
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในสมองสูง
โรคอุทกเศียร น้ำไขวันหลังคั่งในโพรงสมอง (Hydrocephalus)
อาการและอาการแสดง
หัวบาตร (Cranium enlargement)
หัวโตกว่าปกติ
รอยต่อกระโหลกศีรษะแยกออกจากกัน
รอยเปิดกะโหลกโป่งตึง
เสียงเคาะกtโหลงเหมือนหม้อแตก
อาการแสดงของความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ตากลอกลงล่าง กลอกขึ้นบนไม่ได้ ตาเข
การหายใจผิดปกติ
พัฒนาการข้ากว่าปกติ
การรักษา
การรักษาด้วยยา
ยาขับปัสสาวะ
รักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
สายระบายน้ำในโพรงสมอง
สารระบายจากโพรงสมอง
วาล์ว และส่วนเก็บน้ำหล่อสมอง
สายระบายลงช่องท้อง
โรคแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
1.การทำงานผิดปกติของสายระบายน้ำใรโพรงสมองมีการอุดตัน หรือระบายมากเกินไป
2.การติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
3.การอุดตันสายระบายน้ำในโพรงสมอง
4.ภาวะระบายน้ำในโพรงสมองมากเกินไป
5.ภาวะโพรงสมองตีบแคบ
6.ภาวะเลือดออกในศีรษะ
7.ไตอักเสบ
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการสำคัญ
มีก้อนที่หลัง
ขาอ่อนแรงทั้ง 2 ช้าง
ปัสสาวะ อุจจาระตลอดเวลา
ไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
มีประวัติไม่ได้รับวัคซีน
ไม่มีประวัติคลอดในโรงพยาบาล
เป็นชนต่างด่าว
Spina Bifida
เป็นความบกพร่องของกระดูกสันหลัง มีถุงยื่นผ่านจากกกระดูกสันหลัง
1.Spina bifida occulta
ผิดปกติกรดูกสันหลังส่วน Vetebral arches ไม่รวมตัวกัน
2.Spina bifida cystica
ผิดปกติของการปิดของส่วนโค้งกระดูกสันหลัง ทำให้มีการยื่นของไขสันหลัง
2.1.Meningocele
2.2.Myelomeningocele
การวินิจฉัย
1.ซักประวัติ
2.การตรวจร่างกาย
3.การตรวจพิเศษ
การรักษา
Spida bifida occulta ไม่จำเป็นต้องรักษา แต่ชนิด Cystica ต้องผ่าตักภายใน 24-48 ชั่วโมง
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
อาการสำคัญ
ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น หายใจไม่มีประสิทธิภาพ เลี้ยงไม่โต ข้อติดแข็ง พัฒนาการล่าช้า
มีประวัติ สมองขาดออกซิเจน นึกถึง
Cerebral palsy
ความบกพร่องของสมอง ทำให้เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว การทรงตัว
1.กล้ามเนื้อหดเกร็ง
1.1.Splastic quadriplegia
มีความผิดปกติของกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง 2 ข้าง คอและลำตัวอ่อนผิดปกติ น้ำลายไหล
1.2.Splastic diplegia
มีความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง 2 ข้าง ขาเป็นมากกว่าแขน
1.3.Splastic hemiplegia
ผิดปกติที่แขนขาซีกใดซีกหนึ่ง
2.Extrapyramidol cerebral palsy
การเคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น
3.Ataxia cerebral palsy
มีเดินเซ ล้มง่าย กล้ามเนื้อตึงตัวน้อย สติปัญญาปกติ
4.Mixed type
หลายอย่างรวมกัน
อาการและอาการแสดง
1.มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า
2.ปัญญาอ่อน
3.อาการอื่นๆ ร่วม เช่น ชัก หูหนวก
การประเมินสภาพ
1.ซักประวัติ
2.ประเมินร่างกาย
เป้าหมายการพยาบาลเด็กที่ไม่รู้สึกตัว
การทำทางเดินหายใจให้โล่ง
จัดท่านอนของเด็กให้เหมาะสม โดยนอนตะแคงข้าง เพื่อป้องกันการสำลัก
ดูแลไม่ให้มีอาหาร หรือเศษอาหารอยู่ในช่องปาก
ดูดเสมหะให้เด็กเป็นระยะ ๆ
เตรียมอุปกรณ์ช่วยเหลือ
แรงดันในสมองต้องไม่เพิ่มขึ้น
ให้เด็กนอนศีรษะสูง 15-30 องศา
หลีกเลี่ยงกิจกรรม ที่ทำให้แรงดันภายในสมองเพิ่ม
จัดท่านอนให้ข้อสะโพกงอไม่เกิน 90 องศา
ป้องกันไม่ให้ท้องผูก
ได้รับการดูแลขั้นพื้นฐานอย่างมีคุณภาพ
ด้านอาหาร
ดูแลให้เด็กได้รับสารอาหารอย่างครบถ้วน
ดูแลให้เด็กได้รับอาหารทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
บันทึกปริมาณน้ำดื่ม และปัสสาวะทุกวัน
ควรชั่งน้ำหนักทุกวันหรือตามแผนการรักษา
ด้านการขับถ่าย
ดูแลให้เด็กได้รับน้ำอย่างเพียงพอและสอดคล้องกับแผนการรักษา
ถ้าเด็กมีสายสวนปัสสาวะ ควรดูแลความสะอาด
ทำความสะอาดผิวหนังทุกครั้งหลังการขับถ่าย
เปลี่ยนผ้าอ้อมหรือกางเกงทุกครั้งที่เด็กขับถ่าย
ด้านความสะอาด
อาบน้ำให้เด็กทุกวัน
เปลี่ยนเสื้อผ้าให้เด็ก
สระผมให้เด็กบ่อยๆ
ดูแลความสะอาดปาก ฟัน ผิวหนัง และเล็บ
ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนระบบหายใจ
หมั่นพลิกตะแคงตัวเด็กทุก 2 ชั่วโมง ยกเว้นเด็กที่มีปัญหาความดันในสมองสูง
ดูแลไม่ให้ผู้ที่มีอาการติดเชื้อทางระบบทางเดินหายใจ เข้าไปใกล้ชิดเด็ก
ก่อนและหลังสัมผัสเด็กควรล้างมือ
ภาวะแทรกซ้อนเกี่ยวกับตา
สังเกตและประเมินอาการที่บ่งชี้ว่า มีการระคายเคือง หรืออักเสบ ของตา
อาจต้องใช้ผ้าปิดตา เพื่อไม่ให้ตาแห้ง
ถ้าตาแห้ง อาจต้องใช้น้ำตาเทียมหยด
ภาวะแทรกซ้อนทางผิวหนัง
ประเมินสภาพผิวหนังเป็นระยะๆ
หมั่นเปลี่ยนท่านอน หรือพลิกตะแคงตัวบ่อยๆ เพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับ
ดูแลผิวหนังให้สะอาด ชุ่มชื่นอยู่ตลอดเวลา ควรทาครีมบำรุงผิว
ครอบครัวผู้ป่วยเด็กได้รับความรู้และคำแนะนำเกี่ยวกับความเจ็บป่วย
ประเมินความต้องการข้อมูลของครอบครัว
รับฟังปัญหาครอบครัวอย่างตั้งใจ อดทน
ตอบคำถามที่ครอบครัวต้องการทราบอย่างชัดเจน
ให้กำลังใจและประคับประคองด้านจิตใจแก่ครอบครัว