Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3การพัฒนาองค์การ(Organization Development)และการบริหารพัสดุ - Coggle…
บทที่3การพัฒนาองค์การ(Organization Development)และการบริหารพัสดุ
การบริหารพัสดุ
ความสำคัญ
การบริหารพัสดุ
เป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่ทำให้การบริหารงานขององศ์การโดยรวมสัมฤทธิ์ผล การบริหารพัสดุที่ดี จะช่วยให้พนักงานปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และจะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการบริหารงานขององค์การนั้น ๆ ได้
การบริหารพัสดุ
เป็นวงจรการบริหารที่มีการดำเนินการหลายขั้นตอน และต่อเนื่องกันเป็นวงจร เริ่มตั้งแตการกำหนดนโยบาย การวางแผน การประมาณความต้องการ การจัดหา การแจกจาย การควบคุม การบำรุงรักษา และการจำหนายพัสดุเปนขั้นตอนสุดท้าย และสามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาเพื่อเริ่มต้นวงจรใหม่ในการจัดหาพัสดุทดแทน
การบริหารพัสดุทั่วไป
จะมีวงจรดังกล่าวแต่ การบริหารพัสดุภาครัฐจะเริมต้นตั้งแต่การจัดหาจนถึงการจำหนายพัสดุ เนื่องจากการกำหนดนโยบาย การวางแผน และการประมาณความต้องการจะเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารเงินและงบประมาณ
การบริหารพัสดุเอกชน
จะไม่มีหลักเกณฑ์และกระบวนการยุ่งยากมากนัก เนื่องจากองค์การภาคเอกชนมักจะมีขนาดเล็ก ใช้กับคนจำนวนน้อย ในขณะที่ภาครัฐซึ่งเป็นองค์การขนาดใหญ่ ใช้กับคนจำนวนมาก อีกทั้งยังต้องให้ความสำคัญกับการดูแลทรัพยสินที่ได้มาจากภาษีอากรของประชาชน ดังนั้นภาครัฐจึงต้องมีหลักเกณฑ์และวิธีการในการบริหารพัสดุค่อนข้างมาก
ความหมาย
การบริหารพัสดุ
หมายถึงการดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการวางแผนการได้มาซึ่งพัสดุ การแจกจ่าย การบำรุงรักษาและการจำหน่ายพัสดุหรืออาจหมายถึงการจัดการพัสดุให้เกิด
ประสิทธิภาพและประหยัด เป็นการดำเนินงานที่มีขอบเขตกว้างขวาง ซึ่งการดำเนินงานของทุกหน่วยงานจะต้องเกี่ยวข้องกับการบริหารพัสดุ
กระบวนการบริหารพัสดุ
การวางแผนหรือการกำหนดความต้องการพัสดุเป็นการกำหนดจำนวนพัสดุที่จะนำมาใช้ในการปฏิบัติงานตามแผนงานหรือโครงการที่กำหนดไว้ว่าจะใช้พัสดุอะไร จำนวนเท่าไร เวลาไหน
การจัดหาพัสดุเป็นขั้นตอนการปฏิบัติเพื่อให้ได้มาซึ่งพัสดุตามที่หน่วยงานต้องการในแต่ละรายการว่าต้องการใช้พัสดุอะไร จำนวนเท่าไร จึงจะเพียงพอและประหยัด
ปัญหาสำคัญในกระบวนการบริหาร
1) การวางแผนการจัดหาพัสดุไม่เหมาะสมหรือไม่ดำเนินการตามแผนที่วางไว้
2)การกำหนดคุณลักษณะฉพาะหรือแบบรูปรายการละเอียดไม่ชัดเจนไม่ครบถ้วน 3) การกำหนดคุณสมบัติของผู้เข้ามาเสนอราคาที่สูงหรือต่ำเกินไป
4)การเผยแพรขาวสารการจัดหาไม่ทั่วถึงและให้เวลาในการเสนอราคาไม่เพียงพอ
5) การพิจารณารดาไม่โปร่งใสและมักจะไม่คำนึงถึงความคุ้มค่าในการ จัดหาพัสดุที่ต้องการ
6) การตรวจรับพัสดุหรือตรวจงานจ้างล่าช้าและไม่เป็นไปตามสัญญา
การแจกจ่ายพัสดุเป็นขั้นตอนต่อจากการจัดหา กล่าวคือ เมื่อได้จัดหาพัสดุมาก็จะต้องแจกจ่ายพัสดุนั้น ๆ ให้แก่ผู้ที่ใช้นำไปใช้งานต่อไป
การควบคุมเป็นขั้นตอนการดูแลความเคลื่อนไหวและดูแลการใช้พัสดุและการหาวิธีการประหยัดงบประมาณด้านพัสดุ ได้แก่ การยืมพัสดุ การควบคุมพัสดุโดยการลงบัญชีพัสดุ และการลงทะเบียนครุภัณฑ์
5.การบำรุงรักษา เป็นขั้นตอนปฏิบัติพื่อให้อายุการใช้งานของพัสดุยาวนานและคุ้มค่าที่สุด เท่าที่จะทำได้
การจำหน่ายพัสดุ
เป็นขั้นตอนการตัดยอดพัสดุออกจากบัญชีและความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ ได้แก่ การขาย การแลกเปลี่ยน การโอน การแปรสภาพหรือทำลาย การจำหน่ายเป็นสูญ และการลงจ่ายออกจากบัญชีหรือทะเบียน
จำหน่ายพัสดุ
หลังจากผ่านขั้นตอนการควบคุมพัสดุซึ่งอยู่ระหว่างการใช้งาน แล้วและตรวจพบวามีพัสดุชำรุดบกพร่องจนไม่สามารถใช้งานได้อีกต่อไปหากใช้งานต่อไปจะสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมากเป็นพัสดุที่หมดความจำเป็นในการใช้งานแล้วขั้นตอนสุดท้ายของวงจรพัสดุ คือต้องจำหน่ายพัสดุ นั้นออกไปจากบัญชีหรือทะเบียนการจำหน่ายพัสดุเป็นการหาวิธีใช้ประโยชน์จากพัสดุจนหมดคุณค่าอย่างแท้จริง และเป็นการลดภาระคาไซจายในการบำรุงรักษา ตลอดจนสามารถหมุนเวียนจัดหาพัสดุใหม่มาทดแทนได้
หลักการจำหน่ายพัสดุภาครัฐที่ดี
1)มีผู้รับผิดชอบกรณีพัสดุชำรุดซึ่งไม่เกิดจากการใช้งานตามปกติหรือสูญหาย
2)เป็นประโยชน์ในการตัดทอนความรับผิดชอบระหว่างกันโดยเฉพาะการรับส่งงานของผู้พ้นจากตำแหน่งหนึ่ง และผู้ที่เขามารับตำแหน่งแหน และทำให้เกิด ความต่อเนื่องในการปฏิบัติงาน
3) สามารถใช้เป็นขอมลในการจัดหาตอไป
4) มีการจำหน่ายในเวลาที่เหมาะสม เพื่อลดภาระในการบำรุงรักษาและอาจนำไปไช้ประโยชน์ต่อหน่วยงานอื่นได้
หลักการจัดหาพัสดุที่ดี
1) มีการวางแผนการจัดหาและดำเนินการตามแผนที่วางไว้ ตลอดจนการมีระบบการติดตามตรวจสอบที่ดี
2) ดำเนินการด้วยความโปร่งใส เปิดเผย เป็นธรรม และมีการแข่งขันกันอย่างแท้จริง
3) ดำเนินการให้ได้วัสดุที่ดีมีความคุ้มค่าในการจัดหา เพื่อให้การใช้จ่ายเงินเกิดประโยชน์สูงสุด 4) กำหนดคุณสมบัติเฉพาะและแบบรูปรายการที่ชัดเจนและเป็น
กลาง สอดคล้องกับความต้องการในการใช้งาน
5)การพิจารณาเปนไปอย่างโป่รงใสและคำนึงถึงความคุ้มค่าในการจัดหาพัสดุที่ต้องการ
6)การตรวจรับพัสดุหรือตรวจงานจ้างเป็นไปตามข้อกำหนดในสัญญาอย่างถูกต้องครบถ้วน และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทันความต้องการใช้งาน
วิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Market : e- market)
การจัดหาพัสดุที่มีรายละเอียดคุณลักษณะที่ไม่ซับซ้อน เป็นสินค้าหรือบริการทั่วไป มีมาตรฐาน ซึ่งกำหนดให้ส่วนราชการจัดซื้อสินค้าหรืองานจ้างที่กำหนดไว้ในระบบe-catal0g
กระทำได้ 2 ลักษณะ
1) การเสนอราคา
โดยใบเสนอราคา (Request for Quotation : RFQ)ได้แก่ การจัดหาพัสดุครั้งหนึ่ง ซึ่งมีราคาเกิน 50,000 บาท แต่ไม่เกิน5,000,000 บาท
2) การเสนอราคา
โดยการประมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Thai Auction) ได้แก่ การจัดหาพัสดุครั้งหนึ่ง ซึ่งมีราคาเกิน 5,000,000 บาท
วิธีสอบราคา
วิธีสอบราคา
คือ การซื้อหรือจ้างครั้งหนึ่ง
ซึ่งมีวงเงินเกิน๕๐๐,๐๐๐ บาท แต่ไม่เกิน ๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท
ให้กระทำได้ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐนั้นตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีข้อจำกัดในการใช้สัญญาณอินเตอร์น็ต ทำให้ไม่สามารถดำเนินกรผ่านระบนตลาดอิเล็กทรอนิกส์หรือระบบประกดราคาอิล็กทรอนิกส์ได้ ทั้งนี้ให้เจ้าหน้าที่ระบุเหตุผลความจำเป็นที่ไม่อาจดำเนินการซื้อหรือจ้างด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ไว้ในรายงานขอซื้อหรือขอจ้างตามข้อ ๒๒ ด้วย
วิธีคัดเลือก
วิธีคัดเลือก
ได้แก่ การที่หน่วยงานของรัฐชิญชวนเฉพาะผู้ประกอบการที่มีคุณสบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐกำหนดซึ่งต้อง ไม่น้อยกว่าสามรายให้เข้ายื่นข้อเสนอ เว้นแต่ในงานนั้นมีผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตงตามที่กำหนดน้อยกว่าสามราย
การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ
กรณีดังต่อไปนี้ ให้ใช้วิธีคัดเลือก
(ก) ใช้วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปแล้ว แต่ไม่มีผู้ยื่นข้อเสนอ หรือข้อเสนอนั้นไม่ได้รับการคัดเลือก
(ข) พัสดุที่ต้องการจัดซื้อจัดจ้างลักษณะฉพาะป็นพิเศษหรือชับซ้อนหรือต้องผลิต จำหน่ายก่อสร้างให้บริการโดยผู้ประกอบการที่มีฝีมือโดยเฉพาะหรือมีความชำนาญเป็นพิเศษหรือมีทักษะสูง และผู้ประกอบการนั้นมีจำนวนจำกัด
(ค)มีความจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องใช้พัสดุนั้นอันเนื่องมาจากเกิดเหตุการณ์ที่ไม่อาจคาดหมายได้ซึ่งหากใช้วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปจะทำให้ไม่ทันต่อความต้องการใช้พัสดุ
(ง) เป็นฟัสดุที่โดยลักษณะของการใช้งาน หรือมีข้อจำกัดทางเทคนิคที่จำเป็นต้องระบุยี่ห้อเป็นการเฉพาะ
(จ) เป็นพัสดุที่จำเป็นต้องซื้อโดยตรงจากต่างประเทศหรือดำเนินการโดยผ่านองค์การระหว่างประเทศ
(ช) เป็นงานจ้างซ่อมพัสดุที่จำเป็นต้องถอดตรวจ ให้ทราบความชำรุดเสียหายเสียก่อนจึงจะประมาณค่าซ่อมได้ เช่น งานจ้างซ่อมเครื่องจักร เครื่องมือกล เครื่องยนต์ เครื่องไฟฟ้าหรือเครื่องอิเล็กทรอนิกส์
(ช) กรณีอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
วิธีเฉพาะเจาะจง
การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐกำหนดรายใดรายหนึ่งให้เข้ายื่นข้อเสนอ
หรือให้เข้ามาเจรจาต่อรองราคารวมทั้งการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุกับผู้ประกอบการโดยตรงในวงเงินเล็กน้อยตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
.
1.ใช้ทั้งวิธีประกาศเชิญชวนทั่ไปและวิธีคัดเลือก หรือใช้วิธีคัดเลือกแล้วแต่ไม่มีผู้ยื่นข้อเสนอ หรือข้อเสนอนั้นไม่ได้รับการคัดเลือก
3.มีความจำเป็นต้องใช้ฟัสดุนั้นโดยฉุกเฉินเนื่องจากเกิดอุบัติภัยหรือภัยธรรมชาติหรือเกิดโรคติดต่ออันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อและการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปหรือวิธีคัดเลือกอาจก่อให้เกิดความล่าซ้ำและอาจทำให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง
การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่มีการผลิต จำหน่าย ก่อสร้างหรือให้บริการทั่วไป และมีวงเงินในการจัดซื้อจัดจ้างครั้งหนึ่งไม่กินวงเงินตามที่กำหนดในกฎกระทรวงการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่มีผู้ประกอบการซึ่งมีคุณสมบัติโตยตรงเพียงรายเดียวหรือการจัดซื้จัดจ้างพัสดุจากผู้ประกอบการซึ่งเป็นตัวแทนจำหน่ายหรือตัวแทนผู้ให้บริการโดยชอบด้วยกฎหมายเพียงรายเดียวในประทศไทยและไม่มีพัสดุอื่นที่จะใช้ทดแทนได้
4.พัสดุที่จะทำการจัดซื้อจัดจ้างเป็นฟัสดุที่เกี่ยวพันกับพัสดุที่ได้ทำการจัดซื้อจัดจ้างไว้ก่อนแล้ว และมีความจำเป็นต้องทำการจัดซื้อจัดจ้างเพิ่มเติมเพื่อความสบูรณ์หรือต่อเนื่องในการใช้พัสดุนั้นโดยมูลค่าของพัสดุที่ทำการจัดซื้อจัดจ้งเพิ่มเติมจะต้องไม่สูงกว่าพัสดุที่ได้ทำการจัดซื้อจัดจ้างไว้ก่อนแล้ว
เป็นพัสดุที่จะขายทอดตลาดโดยหน่วยงานของรัฐ องค์การระหว่างประเทศ หรือหน่วยงานของต่างประเทศ
6.เป็นพัสดุที่เป็นที่ตินหรือสิ่งปลูกสร้งซึ่งจำเป็นต้องซื้อเฉพาะแห่ง
7.กรณีอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
การพัฒนาองค์การ(Organization Development)
ความหมาย
ความพยายามอย่างมีแผนและต่อเนื่อง เพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั่วทั้งระบบ โดยมุ่งนั้นการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมขององค์การเพื่อการเพิ่มประสิทธิภพและประสิทธิผลขององค์การ
องค์การที่ควรแก้ไขด้วยการพัฒนาองค์การ
หลักการและวิธีการบริหารไม่ดี ทำให้องค์การไม่สามารถปฏิบัติภารกิจให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ขาดความร่วมมือประสานงานระหว่างหน่วยงาน
อำนาจหน้าที่ขององค์การกำหนดไว้ไม่แน่ชัด
4 หน่วยงานไม่ทำงานตามหน้ที่ความรับผิดชอบที่วางไว้มีการแย่งอำนาจกันในระหว่างหน่วยงาน
บรรยากาศในการทำงานเต็มไปด้วยการแข่งขัน ชิงดีชิงเด่นมีการอิจฉาริษยาแบ่งเป็นก๊กเป็นเหล่า
ขาดแรงจูงใจในการทำงาน เนื่อยชา ไม่กระตือรือร้น ขาดความคิดริเริ่ม ทำงานแบบ"เช้าชามเย็นชาม"
คนทำงานมุ่งทำงานเพื่อสนองความต้องการของตนเองมากกว่าองค์การ
ภาพพจน์ขององค์การไม่ดีในสายตาของคนอื่น
มีปัญหาต่าง ๆ มาก คั่งค้างเละสะสางไม่ออก
ต้องการเปลี่ยนทัศนะคติของคนในองค์การ
ขาดคณะที่ปรึกษาสำหรับผู้บริหาร หรือคณะที่ปรึกษาไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ
ต้องการการวางแผนงานที่ดีกว่า
ต้องการเปลี่ยนกลวิธีในการบริหารงาน
ต้องการเปลี่ยนโครงสร้างและนโยบายขององค์การ
ต้องการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
ลักษณะสำคัญของการพัฒนาองค์การ
เป็นการมุ่งที่จะแก้ปัญหาจริง ๆ ที่เกิดขึ้นในองค์การ จึงจ้องอาศัย
ข้อมูลและการวิเคราะห์ระบ
เป็นกระบวนการที่สงประสบการณ์โดยเน้นที่จุดมุ่งหมาย
เป็นยุทธวิธีของการเปลี่ยนแปลงที่ใช้ความร่วมมือของหมู่คณะส่งเสริมการทำงาน
เป็นการใช้วิธีการฝึกอบรม ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของพฤติกรรมที่มี
ประสบการณ์
เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องโดยนำความรู้ทางพฤติกรรมศาสตร์มาประยุกต์ใช้
เป็นการสร้งความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้นำและสมาชิก เนั่นความ
ร่วมมือ หาวิธีการเพื่อไปสู่จุดมุ่งหมาย
ผู้นำการเปลี่ยนแปลงยอมรับในคุณคำของสมาชิกทุกคน
วัตถุประสงค์ของการพัฒนาองค์การ
เพื่อกระตุ้นให้สมาชิกในองค์การเกิดความพร้อมที่จะเผชิญหน้ากันเพื่อแก้ปัญหาที่จะเกิดขึ้น
เพื่อส่งเสริมให้ห็นความสำคัญของกระบวนการทำงานกลุ่ม เกิดความรับผิดชอบของกลุ่มในการวางแผนและปฏิบัติตามแผนที่วางไว้
เพื่อสร้างความเป็นเจ้าของร่วมกันต่อวัตถุประสงค์ขององค์การ
เพื่อพัฒนากลไกการปรับปรุงตนเองขององค์การ และสมาชิกขององค์การในลักษณะที่ต่อเนื่องตลอดเวลา
เพื่อเพิมความไว้เนือเชื่อใจและความร่วมมือสนับสนุนระหว่างบุคคลและระหว่างกลุ่มในองค์การ
เพื่อสร้างบรรยากาศของการแก้ไขปัญหาร่วมกันอย่างเปิดเผย
เพื่อสร้งระบบการทำงานในองค์การ ให้สามารถปรับโครงสร้งได้ตามลักษณะงาน
คุณลักษณะของการพัฒนาองค์การ
1.การพัฒนาองค์การจะต้องเกิดขึ้นกับองค์การทั้งหมด (Whole Organization)
2.การพัฒนาองค์การการนั้นความเป็นระบบ (System-Oriented)
3.การพัฒนาองค์การเป็นปัจจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research)
4.การพัฒนาองค์การเป็นการแก้ปัญหา (Problem solving)
5.การพัฒนาองค์เป็นการใช้กระบวนการหมู่พวก (Group Process)
6.การพัฒนาองค์กาขึ้นอยู่กับข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)
7.การพัฒนาองค์การจะให้การเรียนรู้เชิงประสบการณ์(Experiential Learning)
8.ภารพัฒนาองค์การเน้นสภาวการณ์ (Contingency Oriented)
9.การพัฒนาองค์การใช้เป็นตัวกลางในการเปลี่ยนแปลง (Change Agent)
หลักเบื้องตันในการพัฒนาองค์การ
กำหนดเป้าหมาย (Goal Setting)
ความเข้าใจในสถานการณ์ (Understand Relations)
3, การปรับปรุงสัมพันธ์ภาพ (Improving Relations)
การทำงานร่วมกันกับหน่วยงานในสถานการณ์ (Participation)
การเชื่อมโยง (Linking) แนวยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การ
ปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาองค์การ
1, การสร้งระบบหรือปรับระบบในสายการทำงานให้ยืดหยุ่น
การแก้ปัญหาร่วมกัน
ขจัดความขัดแย้งหรือการแข่งขันให้อยู่ในขอบขดของแต่ละคน
มุ่งเน้นสร้งความเชื่อมั่นและรู้สึกว่าเป็นเจ้าขององค์การร่วมกัน
ความสอดคล้องในการบริหารคนกับบริหารเป้าหมายขององค์การเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
การตอบปัญหา เน้นการตอบปัญหาแบบเสริมสร้างมากกว่าขัดแย้ง
วิธีการในการพัฒนาองค์การ
รูปแบบสามขั้นตอนของ Kurt Lewin ประกอบด้วยการละลายพฤติกรรม การเปลี่ยนแปลง และการดำรงพฤติกรรมใหม่
3.ดำรงพฤติกรรมใหม่
2.การเปลี่ยนเเปลง
1.ละลายพฤดีกรรม
วิธีการของ Larry Greine กล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ มักจะเกิดจากเหตุที่สำคัญสองประการ คือ แรงบังคับจากภายนอก และแรงบังคับจากภายใน
แนวทางในการพัฒนาองค์การ
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในองค์การจะมีอยู่ 3 ลักษณะ คือ
การเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติ (Revolutionary Change) เป็นการเปลี่ยนแปลงที่หวังผลอย่างฉับพลันทันที
การเปลี่ยนแปสงแบบมีวิวัฒนาการ (Evolutionary Change) เยืนการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป อย่างช้า ๆ
การเปลี่ยนแปลงแบบวางแผน (Planned Change)เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ทำอย่างเป็นระบบ
องค์ประกอบในการพัฒนาองค์การมีความสำเร็จ
หน่วยงานในระดับยอดขององค์การจะต้องสนับสนุน
สมาชิกในองค์การต้องเปลี่ยนความคิดและความรู้สึกบางประการที่เป็นอุปสรรคต่อการทำงานร่วมกันเป็นทีม
3.การพัฒนาองค์การมิใช่กลยุทร์ในดันการฝึกอบรม แต่เป็นความคิดขั้นต้นที่จะเปลี่ยนแปลงปรับปรุง
ตระหนักว่า การพัฒนาองค์การกำลังพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงบรรยากาศขององค์การ
การพัฒนาองค์การจะได้รับผลหรือไม่ ต้องดูที่อนาคต
ลักษณะองค์การที่มีประสิทธิภาพ
ทุกคนทำงานโดยมีเป้าหมายและตามแผนงาน
รูปแบบต้องกำหนดตามวัตถุประสงค์
การตัดสินใจอยู่ที่ผู้รู้ข้อมูลดีที่สุด มิใช่ตามลำดับชั้นของความรับผิดชอบ
ผลกระทบของการพัฒนาองค์การ
เกิดบทบาทและเป้าหมายใหม่ขึ้นในองค์การ
การประเมินค่ของคนในองค์การสูงขึ้น
การวินิจฉัยสถานกรณ์จะได้มจากการสั่งเกตจากคนหลายกลุ่ม
เกิดการแสวงหาการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
เกิดการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
คนทุกคนในองค์กรสมารถรบายความทุกข์ร้อนใจได้
เกิตประสบการณ์ใหม่ขึ้น 8. มีการประกาศเป้าหมายใหม่
เริ่มมีการวางแผนเป็นระยะๆ
สมาชิกเริ่มรู้ตัวเองว่ามีอะไรบ้างที่ตนยังไม่รู้
ตัดสินใจร่วมกันและสำนึกดีว่า ต้องทำงานร่วมกันไม่ใช่ทำงานบนคน
พบเป้าหมายที่เป็นจริง แต่ละคนมีความเสี่ยงมากขึ้น
13, สามารถลบลงระบบเก่า(Unfreezing) กลายเป็นเกิดสิ่งใหม่ๆ ขึ้น
มีการประกาศเป้าหมายใหม่