Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก, นางสาวภัคจิรา พูลทอง เลขที่ 61 ห้อง B …
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกหัก
คือ
ภาวะที่โครงสร้าง/ส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกัน, การแตกแยกโดยสิ้นเชิง มีเพียงบางส่วนติดกัน/เป็นเพียงแตกร้าว
ข้อเคลื่อน
คือ
ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออก/หลุดออกจากเบ้า
การบาดเจ็บส่งผลให้เนื้อเยื่อโดยรอบกระดูก หลอดเลือด น้้าเหลือง เส้นประสาทและเส้นเอ็นได้รับอันตราย
อาการ/อาการแสดง
1.มีอาการปวดและกดเจ็บบริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
2.บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
3.รอยจ้้าเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
4.อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การประเมิน
กระดูกหัก สังเกตลักษณะภายนอกว่าเป็นกระดูกหักชนิดที่มีบาดแผลหรือไม่มีบาดแผลมีกระดูกโผล่มาหรือไม่
ข้อเคลื่อน มี 2 ลักษณะ คือ เคลื่อนออกจากกันโดยตลอด และเคลื่อนออกจากกันเพียงเล็กน้อย โดยที่ยังมีบางส่วนสัมผัสกันอยู่
กระดูกไหปลาร้าหัก
( fracture of clavicle )
เกิดขึ้นกับเด็กมากที่สุด
เกิดจากการคลอดติดไหล่
อาการ/อาการแสดง
•Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
•Crepitus คลำได้เสียงกรอบแกรบ
•ปวด บวม ข้างที่เป็น
•เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
การรักษา
ตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่ง มัดแขนให้
ข้อศอกงอ 90 องศา ให้ติดกับลำตัว
กระดูกต้นแขนหัก
(fracture of humerus)
ทารกแรกเกิด
คลอดติดไหล่แล้วผู้ทำคลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
เด็กโต
ล้มต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง
ห้อยแขนด้วยผ้าคล้องแขนไว้
นาน 2 - 3 สัปดาห์
กระดูกหักเคลื่อนออกจากกันมาก ๆ
traction ตรึง 3 สัปดาห์
กระดูกข้อศอกหัก
( Supracondylar fracture )
เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอก
เหยียดตรง หรือข้อศอกงอ
โรคแทรกซ้อน
Volkman’s ischemic contracture
การเจริญเติบโตของกระดูก Humerus
การรักษา
หักแบบ greenstick อาจใส่เฝือกแบบ
posterior plaster splint 1 สัปดาห์
เมื่อยุบบวม จึงเปลี่ยนเฝือกพันต่ออีก 2-3 สัปดาห์
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
( Transient subluxation of radial head, pulled elbow )
การเคลื่อนที่ของหัวกระดูกเรเดียส ออกมาจากข้อ radio-humeral ไม่หมด
เกิดจากการหยอกล้อ แล้วดึงแขนหรือหิ้วแขนเด็กขึ้นมาตรงๆ
ในขณะที่ข้อศอกเหยียดและแขนท่อนปลายคว่ำมือ
กระดูกปลายแขนหัก
เกิดจากการกระทาทางอ้อมหกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
ตำแหน่งที่พบบ่อยคือ บริเวณปลายล่างๆ /
ส่วนล่าง 1/3 ของลำกระดูก
กระดูกต้นขาหัก
( fracture of femur )
ตำแหน่งที่พบคือ ช่วงกลางของกระดูกต้นขา
เด็กจะปวด บริเวณข้างที่หัก
บวมตรงต้าแหน่งกระดูก
ถ้ากระดูกเคลื่อนออกจากกันมาก ๆ ใช้ Gallow’s หรือ Bryant’s traction
ถ้าอายุมากกว่า 3 ปี แก้ไขโดย Russel’s traction
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus
จากการคลอด (birth palsy)
ข่ายประสาท brachial plexus เป็นการรวมตัวของรากประสาทไขสันหลังส่วน ventral rami
ระดับ C5-T1 เป็นเส้นประสาทที่เลี้ยงกล้ามเนื้อและรับความรู้สึกจากบริเวณไหล่จนถึงปลายมือ
ผลให้เกิดอาการแขนอ่อนแรง
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด
การคลอดท่าก้น
ภาวะคลอดติดไหล่
เด็กมีน้้าหนักมาก
การคลอดที่ใช้เวลานาน
การพยาบาล
เข้าเฝือกปูน
ประเมิน 5 PS หรือ 6P
Pulselessness ชีพจรเบา,เย็น
Pallor ปลายมือปลายเท้าซีด หรือเขียวคล้ำ
Paresthesia ชา ขาดความรู้สึก
Paralysis เส้นประสาทถูกกด เคลื่อนไหวไม่ได้
Pain มีอาการเจ็บมากกว่าเดิม
Puffiness or Swelling มีอาการบวมมากขึ้น
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
ระมัดระวังไม่ให้เฝือกเปียกน้ำ
การดึงกระดูก
(Traction)
ดูแลแรงดึงสมดุลเพียงพอกับน้าหนักผู้ป่วย 1/5 ปอนด์ ต่อน้าหนัก 1 กิโลกรัม
น้ำหนักที่ใช้ถ่วงแขวนลอยอิสระไม่แตะพื้น/ข้างเตียงขณะดึงกระดูก
จัดท่านอนและใช้ผ้าตรึงตัวเด็กให้ถูกกับ position ของ traction นั้นๆ
สังเกตการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย
จะต้องไม่เอาน้ำหนักออก หรือถอด traction เองจนกว่าแพทย์สั่ง
รายที่ทำ Skeletal Traction ต้องสังเกตอาการติดเชื้อบริเวณที่เหล็กดึงกระดูก
ชนิด
Bryant’s traction
ในเด็กที่กระดูกต้นขาหัก ( fracture shaft of femur )
แรกเกิดจนถึงอายุไม่เกิน 2 ขวบ
น้ำหนักไม่เกิน 13 กิโลกรัม
Over Head traction/
Skeletal traction the upper limb
รักษากระดูกหักที่ต้นแขน ลักษณะข้อศอกงอ 90 องศา กับล้าตัว
ถ้าอาการบวมมากยังไม่สามารถ reduce และใส่เฝือกได้
Dunlop’s traction
รายที่มี Displaced Supracondylar Fracture ที่ไม่สามารถดึงให้เข้าที่ ( reduce ) ได้
รายที่อาการบวมมาก ใช้เพียงเพื่อดึงให้ยุบบวมแล้วจึง reduce ใหม่
Skin traction
รายที่มี facture shaft of femur ในเด็กโตอายุมากกว่า 3 ขวบขึ้นไป
อาจเกิดปัญหาการกด peronealnerve ท้าให้เกิด foot drop ได้
Russell’s traction
ใช้ในเด็กโตที่มี Fracture shaft of femur/ fracture บริเวณ supracondyla region of femur
อาจเกิดปัญหาการผ้า sling ที่คล้องใต้ขาไปกด เส้นเลือดและเส้นประสาทบริเวณใต้เข่าได้
ผ่าตัดทำ open reduction internal fixation (ORIF)
ก่อนการผ่าตัด
1.ด้านร่างกาย
การเตรียมผิวหนังเฉพาะที่
การดูแลความสะอาดของร่างกาย
การตรวจวัดสัญญาณชีพ / ผู้ป่วยจะได้รับการตรวจชีพจร เช้า เย็น
การประเมินอาการของระบบประสาท และหลอดเลือด
5.การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ / ยา /เอกสารใบเซ็นยินยอม /ผล Lab / ผล X-ray
ด้านจิตใจ
ให้ค้าแนะน้าเกี่ยวกับการผ่าตัดแก่ผู้ป่วย (เด็กโต) และญาติ เกี่ยวกับ
สภาพแวดล้อมภายในห้องผ่าตัด
ขั้นตอนในการผ่าตัดโดยสังเขป
การปฏิบัติตัวภายหลังได้รับยาระงับความรู้สึก
การไออย่างมีประสิทธิภาพ
หลังผ่าตัด
1.ประเมินระดับความรู้สึกตัว
ผลข้างเคียงของการวางยาชนิด GA
การจัดท่านอนให้นอนราบไม่หนุนหมอน
การประเมินระดับความเจ็บปวดโดยใช้ pain scale
ประเมินปริมาณเลือดจากแผลผ่าตัด
ออกมากผิดปกติใช้ผ้าก๊อสหนา ๆ ปิดทับพันให้แน่นห้ามดึงของเก่าออก
แล้วรีบรายงานแพทย์
ท่อระบาย เลือดออกมากกว่า 3 มล./กก/ ชม. หรือ 200 cc /ชั่วโมง แสดงว่ามีภาวะตกเลือดหลังผ่าตัด
ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจ้ากัดเคลื่อนไหว
กันข้อติดแข็งและกล้ามเนื้อลีบ กระตุ้นให้เด็กมีการออกกาลังกล้ามเนื้อและข้อ
ป้องกันแผลกดทับ เปลี่ยนท่าทุก 2 ชั่วโมง
ท้องผูก ให้เคลื่อนไหว อาหารที่มีกากมาก ดื่มน้้ำให้เพียงพอ
ช่วยปอดขยายตัวโดยกระตุ้นให้เด็กหายใจเข้าออกลึก ๆ แรง ๆ
ประเมินอาการบ่งชี้ถึงการเกิดภาวะแทรกซ้อน
ป้องกันการติดเชื้อที่กระดูก เนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
ทำความสะอาดแผลก่อนเข้าเฝือก
ประเมินลักษณะอาการที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อ
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้ทานอาหารช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
ลดความ เครียดวิตกกังวลเมื่อ เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ประเมินจิตใจเด็กและญาติ
สร้างความมั่นใจและความรู้สึกที่ดีแก่เด็กและญาติในการรักษา
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา และประเมินอาการเจ็บปวด
เพื่อบรรเทาปวด
ประเมินระดับอาการปวด
จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
ตรวจดูเฝือกคับ/skin traction แน่นเกินไปหรือไม่
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรก ๆ
กรณีเด็กได้รับการผ่าตัด คลายสำลีพันเฝือกให้ถึงผิวหนังเด็ก
การยึดด้วย Kirschner wire ต้องหมั่นทำแผลจนกว่าจะถึงเวลาที่ถอด
เมื่อกลับไปอยู่บ้านอย่างถูกต้อง
ระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำหรือสกปรก
ห้ามแกะแผลหรือเอาเฝือกออกเอง
สังเกตอาการผิดปกติ ได้แก่ เฝือกมีกลิ่นเหม็น,ปลายมือปลายเท้าชา เขียวคล้า,มีไข้สูง
ทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อให้แผลหายดี
รักษาสุขภาพอนามัย หมั่นออกกาลังกายกล้ามเนื้อและข้อ โดยเฉพาะการกำแบมือบ่อย ๆ
โรคคอเอียงแต่กาเนิด
(Congenital muscular Torticollis)
ศีรษะเอียงจากแนวกึ่งกลางไปด้านใดด้านหนึ่งจาก
กล้ามเนื้อด้านข้างคอ Sternocleidomastoid
คลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อย ๆ
ยุบลงไป
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อทำในเด็กอายุน้อยกว่า1 ปี
การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch)
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง (active streth)
การใช้อุปกรณ์พยุง (orthosis)
การผ่าตัด
ถ้ายืดกล้ามเนื้อที่หดสั้นไม่ได้ผลภายหลังอายุ 1 ปี
กระดูกสันหลังคด
(Scoliosis)
อาการ
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากันสะบักไม่อยู่ระดับเดียวกันคือไหล่ข้างหนึ่งสูงกว่าอีกข้าง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจากัด มักหายใจตื้น หายใจลึกทาได้ยาก
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลาตัว ความจุในทรวงอกสองข้างไม่สมมาตรไม่เท่ากัน
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา ส่วนด้านโค้งออกจะฝ่อลีบและบาง
ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน
มีอาการปวดเมื่อหลังคดมาก ในเด็กอาจพบไม่บ่อย
เริ่มมีอาการเมื่ออายุน้อยยิ่งมีความพิการมาก กระดูกสันหลังส่วนเอวคดมีพยากรณ์โรคดีกว่ากระดูกสันหลังคด
Volkmann’s ischemic contracture
ลักษณะ
แขนอยู่ในท่าคว่่ำมือ (pronation)
ข้อศอกอาจจะงอ
ข้อมือพับลง (palmar flemion)
ข้อ metacarpophalangeal กระดกขึ้น หรือมี extension
นิ้วจะงอทุกนิ้ว
อาจมีอัมพาต ถ้า median nerve หรือ ulnar nerve ถูกทำลาย
กล้ามเนื้อแขนลีบแข็ง
ข้อเกือบทุกข้อจะแข็ง บางรายอาจจะกระดิกได้
กล้ามเนื้อมือลีบ เหมือนกับมีอัมพาต
สาเหตุ
ปลายกระดูกหักชิ้นบน เช่นในรายที่มีการเคลื่อนของกระดูกมาก
เลือดแข็งจับกันเป็นก้อน
งอพับข้อศอกมากเกินไป ในขณะที่บริเวณนั้นยังบวมอยู่
จากการเข้าเฝือก เมื่อเกิดอาการบวมขึ้นเต็มที่ แต่เฝือกขยายออกไม่ได้ เฝือกจึงคับทำให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวก
มี 3 ระยะ
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อ บวม ตึง แข็ง และมีสีคล้า เนื่องจากมีเลือดปะปนอยู่
ผิวหนังพอง เนื่องจากกล้ามเนื้อมี fascia หุ้มอยู่ fascia นี้ขยายตัวไม่ได้
นิ้วและมือหงิกงอ
median nerve และ ulnar nerve ถูกบีบรัดใน fibrous tissue ทำให้อัมพาตได้
ข้อนิ้วและข้อมือจะแข็ง เนื่องจากไม่ได้ทำงานและจากการหดตัวของเยื่อบุข้อ
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
การหดตัวเกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อ Pronator และ flexor ของแขน มือ และนิ้ว ทำให้มือและนิ้วหงิกงอ ใช้การไม่ได้
ระยะเริ่มเป็น
มีบวม เห็นได้ชัดที่นิ้ว
เจ็บ และปวด
นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้ การบวมทาให้นิ้วแข็ง
สีของนิ้วจะขาวซีด หรืออาจจะเป็นสีคล้า แต่นิ้วยังคงอุ่นอยู่
มีอาการชา
ชีพจร คลำไม่ได้ชัด หรือไม่ได้
วิธีป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุดขณะที่หักเกิดขึ้นใหม่ ๆ
อย่างอข้อศอกมากเกินไปขณะที่ใส่เฝือก จะงอได้มากแค่ไหนควรใช้การจับชีพจร เป็นหลัก ต้องงอพอที่จะจับชีพจรได้เสมอ
ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพัน ด้วยผ้าพันธรรมดา การใช้ slab จะทำให้เฝือกขยายตัวได้บ้าง ยังไม่ควรใส่ circular cast
นางสาวภัคจิรา พูลทอง เลขที่ 61 ห้อง B
รหัสนักศึกษา 613601169