Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เด็กที่มีปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ, นางสาวนัสรียะห์ อูมะ เลขที่42A รหัส…
เด็กที่มีปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ
การวินิจฉัย
ประวัต
อาการปวด
อาการไข้
อ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร
การตรวจร่างกาย
ปวด
บวม
แดงร้อน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผล CBC
พบ Leucocytosis esR, CRP มีค่าสูง
ผล Gram stain culture ขึ้นเชื้อ
4.การตรวจทางรังส
metaphysis Bone scan ได้ผลบวก
Plain flim พบเนื้อเยื่อส่วนลึกบวม
อาการแทรกซ้อน
กระทบต่อ pyhsis เป็นส่วนจะเจริญเติบโตของกระดูก ทำลาย physeal plate
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
ข้ออักเสบติดเชื้อ
สาเหตุ
ทิ่มแทงเข้าในข้อ
แพร่เชื้อโรคจากกระแสเลือด
แบคทีเรีย
การวินิจฉัน
1.ลักษณะทางคลินิค
มีการอักเสบ
ปวดบวมแดง
มีไข้
ผล Lab
ย้อม gram stain
:เจาะดูดน้ำในข้อ joint aspiration
CBC พบ ESR, CRP สูงขึ้นเล็กน้อย
การตรวจทางรังส
Plain flim พบช่องระหว่างข้อกว้าง
Ultrasound บอกถึงภาวะมีน้ำในข้อมาก
Bone scan / MRI บอกถึงการติดเชื้อกระดูก
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด Arthrotomy and drainage
ภาวะแทรกซ้อน
1.Growth plate ถูกทำลาย
ข้อเคลื่อน (Dislocation)
ข้อถูกท าลาย (joint destruction)
หัวกระดูกข้อสะโพกตายจากการขาดเลือด(avascular necrosis)
Tuberculous Osteomyelitis and
Tuberculous Arthitis
ตำแหน่งที่พบบ่อย
ข้อสะโพก
ข้อเข่า
ข้อเท้า
สาเหตุ
การไอ จาม
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ
อาการและอาการแสดง
กระดูกเกิดเป็นโพรงกระดูกหนองที่ไม่ลักษณะการอักเสบ
หลังการตดเชื้อ 1-3 ปี ที่กระดูกรอยโรคเริ่มที่metaphysis ของ long bone
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก
อ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร
น้ำหนักลด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC พบ WBC ปกติหรือสูงไม่มาก
ค่า CRP, ESR สูง
การตรวจทางรังสี
plaint film
MRI
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผาตัด ตรวจชิ้นเนื้อ
Club Foot (เท้าปุก)
สาเหตุ
ยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชัอด
อาจเกิดจาก gene เป็นปัจจัยเสริม
แม่สูบบุหรี่ในขณะตั้งครรภ์
การวินิจฉัย
การตรวจดูลักษณะรูปร่างเท้าตามลักษณะตามคำจำกัดความ
จุดมุ่งหมายของการรักษา
ทำให้เท้ามีรูปร่างใกล้เคียงเท้าที่ปกติมากที่สุด ทำในอายุ <3 ปี
สามารถใช้ฝ่าเท้ารับน้ำหนัก ได้เหมือนหรือใกล้เคียงปกติ ทำในอายุ 3-10 ปี
เท้าสามารถเคลื่อนไหวใกล้เคียงปกติและสามารถใช้เท้าได้โดยไม่เจ็บปวด ทำในช่วงอายุ 10 ปีขึ้นไป
การรักษา
2.การผ่าตัด
2.3 การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก
2.1 การผ่าตัดเนื้อเยื่อ
2.2 การผ่าตัดกระดูก
1.การดัดและใส่เฝื อก
โรคกระดูกอ่อน
ความหมาย
พบมากในเด็กอายุ 6เดือน-3ปี จากการขาดวิตามิน
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจาโรคของลำไส้
โรคไตบางชนิดไม่สามารถดูดกลับของอนุมูลแคลเซียม และฟอสเฟต
ภาวะฟอสเฟตต่ำ
อาการ
ในเด็กเล็กความตึงตัวของกล้ามเนื้ออจะน้อย
ขวบปีแรกเด็กจะมความผิดรูป กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ
การรักษา
แบบประคบประคอง
การรักษาสาเหตุ ใหัวิตามินป้องกัน
ให้วิตามินดี 200 หน่อยต่อวันต่อน้ำหนักตัวของ
เด็กคลอดก่อนกำหนด
ออกกำลังกาย ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
รับประทานอาหารที่มีโปรตีนและแคลเซียม
ฝ่ าเท้าแบน Flat feet
อาการ
ผู้ป่วยอาจจะมีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าจะหนาผิดปกติ
รองเท้าผู้ป่วยจะรู้เร็ว
อาการขึ้นกับความรุนแรงขอลแบนราบ
ปวดฝ่าเท้า
ในรายที่แบบรุนแรง ผู้ป่วยจะมีอาการปวดน่อง เข่า ปวดสะโพก
สาเหต
เป็นพันธุกรรมในครอบครัว
เกิดจากเอ็นของข้อเท้ามีการฉีดขาด
เกิดจากการเดินที่ผิดปกติ
โรคเกี่ยวกับสมองและไขสันหลัง
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอด
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
อาจจะใช้ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
Cerebral Palsy ความผิดการทางสมอง
สาเหตุของโรค
ก่อนคลอด
มารดามีโรคแทรกซ้อนในขณะตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูง
เบาหวาน
อาจมีสาเหตุจากการติดเชื้อ
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับมารดาขณะตั้งครรภ์
ระหว่างคลอด /หลังคลอด
คลอดยาก
สมองกระทบกระเทือน
ขาดออกซิเจน
ทารกคลอดก่อนกำหนด
จำแนกโดยลักษณะการเคลื่อนไหวได้ 4 ประเภท
Spastic CP จะมีอาการกล้ามเนื้อเกร็งแน่น
Ataxic CP กล้ามเนื้อจะยืดหดอย่างไม่เป็ นระบบระเบียบ
Athetoid CP มีอาการกล้ามเนื้อไม่ประสานกัน
Mixed CP เป็ นการผสมผสานลักษณะทั้งสาม
spastic cerebral palsy
Hemiplegia คือพวกที่มี spasticity ของแขนและขาข้างใดข้างหนึ่งส่วนอีกข้างหนึ่งปกติ
Double hemiplegia คือ มีลักษณะของ hemiplegia ทั้ง 2 ข้าง
quadriplegia หรือtotal body involvement พวกนี้มีinvolvement ของทั้งแขนและขาทั้ง 2 ข้างเท่า ๆ กัน
Diplegiaคือ involved มากเฉพาะที่ขาทั้งสองข้าง
5.อิ่นๆ เช่น monoplegia, paraplegia, triplegia พบน้อยมาก
การรักษา
2.ลดความเกร็ง โดยใช้ยา
ยากิน กลุม diazepam
ยาฉีดที่นิยมในปัจจุุบัน กลุ่มยา Botox
1.ป้องกันการผิดรูปของข้อต่างๆ
กายภาพบ าบัด(Physical Therapy)
อรรถบำบัด (Speech and Language Therapy)
3.การผ่าตัด
การผ่าตัดลดความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
การย้ายเอ็น เพื่อความสมดุลของข้อ
การผ่าตัดกระดูก
4.การให้การดูแลรวมถึงการให้กำลังใจ
5.การรักษาด้านอื่นๆ
การผ่าตัดตาเหล่
น้ำลายยืด
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
อาการและอาการแสดง
2.น้ำหนักลด
3.มีไข้
1.ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
4.การเคลื่อนไหวของต่ำแหน่งที่ผิดปกติ
5.อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้นๆ
การวินิจฉัย
1.การซักประวัต
อาการปวด
การเคลื่อนไหว
ระยะเวลามีก้อนเนื้องอก
2.การตรวจร่างกาย
น้ำหนัก
การเคลื่อนไหวของก้อน
3.การตรวจห้องปฎิบัติการ
หาระดับ (ALP)
MRI , CT เพื่อดูการกระแพร่กระจายของโรค
หาระดับ (LDH)
การรักษา
1.การผ่าตัด
2.เคมีบำบัด
3.รังสีรักษา
การพยาบาล
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลผ่าตัด
เสี่ยงเกิดภาวะแทรกซ้อนของกระดูก
เสี่ยงเกิดภาวะแทรกซ้อนจากเคมีบำบัดและรังสีรักษา
มีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค
Omphalocele ความผิดรูปของผนัง
หน้าท้องตั้งแต่กำหนด
การรักษา
conservative
operative
การรักษาด้วยวิธีผ่าตัด
วิธีแรกเป็นการเย็บผนัง
หน้าท้องปิดเลย
อีกวิธีเป็นการปิดผนังหน้าท้อง
โดยทำเป็นขั้นตอน
Gastroschisis
ผนังหน้าท้องแยกจากกัน
การวินิจฉัย
หน้าท้องทารกจะพบถุงสีขาวขุ่นบาง
สะดือติดอยู่กับตัวถุง ขนาด 4-10 cm
การดูแลรักษาการพยาบาล
การแก้ไขปัญหาฉุกเฉิน
การประเมินการหายใจ
Incubator หรือ ผ้าอุ่น กระเป๋าน้ำร้อน
ใส่ orogastric tube ปลายเปิดลงถุง
Rectal irrigation ด้วย NSS อุ่น
เริ่มให้ antibiotic ได้ทันที
ตรวจระดับ น ้าตาล เกลือแร่ในกระแสเลือด
เจาะเลือดแม่เพื่อเตรียมท าการจองเลือด
การดูแลทั่วไป
ให้ vitamine K 1 mg intramuscular
การรักษาความอบอุ่น
การอาบน้ำไม่ต้องทำเนื่องจากจะทำให้เด็กตัวเย็นมากขึ้น
ประเมินภาวะทั่วไป เช่น การหายใจ
การค้นหาความพิการร่วม
การดูแลเฉพาะ
การทำแผล สะอาด หมาดๆ ไม่รัด
แนวทางการพยาบาล
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด
เช็ดทำความสะอาดลำใส้ส่วนสกปรก
ป้องกันการติดเชื้อ
การวินิจฉัย
1.อาจเกิดภาวะHypothermia เนื่องจากทารกส่วนใหญ่น้ำหนักน้อย
2.อาจเกิดการสูญเสียสารเหลวที่ไม่สามารถทราบได้
3.อาจเกิดภาวะติดเชื้อของแผลจากการที่มีลำใส้อยู่นอกช่องท้อง
4.อาจอาการท้องอืด หรืออาเจียน เนื่องจากมีลมในกระเพาะอาหาร
5.อาจเกิดการขาดน้ำและอีเลคโตรลัยท์ เนื่องจากงดอาหาร น้ำ
6.บิดามารดามีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของบุตร
นางสาวนัสรียะห์ อูมะ เลขที่42A รหัส 613601043