Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท, อาการและอาการแสดง - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
บทบาทของพยาบาลในการดูแลเด็กที่มีความผิดปกติของระบบประสาท
การรวบรวมข้อมูลภาวะสุข
การดูแลเด็กที่มีความผิดปกติทางระบบประสาท
การให้คำแนะนำบิดามารดาของผู้ป่วยเด็กโรคระบบประสาท
ระดับความไม่รู้สึกตัว
ระดับความรู้สึกตัวดี จะมีความรู้สึกตื่นและรับรู้ตัวดี มีพฤติกรรมที่แสดงออกอย่างเหมาะสม
ระดับความรู้สึกสับสน จะมีความสับสน มีความความผิดปกติเกี่ยวกับการตัดสิ้นใจ
การรับรู้ผิดปกติ ไม่รับรู้ต่อเวลา บุคคล และสถานที่ ระดับความรู้สึกตัวลดลง
ระดับความรู้สึกง่วงงุน การเคลื่อไหวน้อยลง พูดช้า และสับสน เมื่อกระตุ้นด้วยสิ่งเร้าผู้ป่วยจะโต้ตอบ ถ้ากระตุ้นด้วยสิ่งเร้าแล้วไม่โต้ตอบเรียกว่า obtundation
ระดับความรู้สึก stupor ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว หลับลึก แต่ยังสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่รุนแรงและกระตุ้นกันซ้ำๆ เช่น การเคลื่อนไหวหรือส่งเสียงครางเบาๆ โดยการตอบสนองที่เกิดขึ้นค่อนข้างช้า
โรคอุทกเศียร: น้ำไขสัหลังคั่งในโพรงสมอง หรือภาวะน้ำคลังในกะโหลกศีรษะ (Hydrocephalus)
อาการสำคัญ คือ ศีรษะโตตั้งแต่กำเนิด กระหม่อมหน้าโป่ง ศีรษะโตเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับทรวงอก ปวดศีรษะ วึมม อาเจียนพุ่ง ไม่ดูดนม
การรักษาด้วยยาขับปัสสาวะ Acetazolamide ช่วยลดการสร้างน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง ประมาณ 25-50%
สายระบายจากโพรงสมอง(Ventricular shunt)
วาล์ว(Valve)และส่วนที่เก็บน้ำหล่อสมอง(Reservoir)
สายระบายลงช่องท้อง(Peritoneal shunt)
การรักษาด้วยการผ่าตัด
1.)การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย(ExternalVentricularDrainage,EVD,Ventriculostomy)
2.) การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
เป็นการอักเสบของเยื่อหุ้มสมองที่เแลียบพลันของชั้นในสุดและอแรคนอยด์ที่อยู่รอบๆสมองและไขสันหลังและเยื่อบุของสมองที่ถูกทำลาย ส่วนมากพบในเด็กที่อายุต่ำกว่า 5 ปี
อาการและการแสดง มีอาการไข้สูงหนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ และซึมลงจนหมสติ มีอาการคอแข็ง มีอาการแสดงที่บอกว่าเส้นประสาทสมองถูกรบกวนหรือทำร้าย
การประเมินสภาพ คือการตรวจนำไขสันหลัง
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร้อง
อาการสำคัญคือ ไม่รู้สึกตัวเกร็งเมื่อกระตุ้น หายใจไม่มีประสิทธิ์ภาพ การดูดกลืนบกพร่อง เลี้ยงไม่โต ข้อติดแข็ง พัฒนาการล่าช้า
มีประวัติ สมองขาดออกซิเจน นึกถึง Cerebral palsy
ภาวะชักจากไข้สูง (Febrile convulsion)
สาเหตุ เกิดการติดเชื้อในระบบต่างๆที่ไม่ใช่ระบบประสาท เช่น การติดเชื้อระบบทางเดินอาหาร ทางเดินปัสสาวะ ทางเดินหายใจ
อาการ เด็กจะชักเมื่อT.39 องศาขึ้นไป อาการชักเกิดขึ้นภายใน 24 ชม แรกที่เริ่มมีไข้ มักเกิดในเด็กที่มีอายุ 3 เดือน ถึง 5 ปี พบมากในอายุ 17-24 เดือน
ชนิดของการชักการไข้สูง 1.Simple febrile seizure มีไข้ร่วกับชักในเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี ระยะเวลาชักสั้นๆไม่เกิน 15 นาที ก่อนหลังชักไม่มีอาการทางระบบประสาท 2.Complex febrile seizure การชักเป็นแบบเฉพาะที่หรือทั้งตัว ชักนานเกิน 15 นาที หลังชักจะมีความผิดปกติของระบบประสาท
การประเมินสภาพ 1.การซักประวัติ 2.การประเมินสภาพร่างกาย 3.การตรวจทางห้องปฎิบัติการ 4.การตรวจพิเศษอื่น
โรคลมชัก (Epilepsy)
1.Postictal peroid คือระยะเวลาที่อาการชักสิ้นสุดลง มีอาการทางคลินิค มีการเปลี่ยนแปลงคลื่นไฟฟ้าสมอง ระยะนี้อาจเกิดนานหลายวินาที ส่วนใหญ่ไม่เกิน 24 ชั่วโมงมีอาการได้แก่ สับสน อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ
2.Interictal peroid คือช่วงเวลาระหว่างชักตั้งแต่หลังชักหนึ่งสิ้นสุดลงไปแล้วจึงเริ่มเกิดการชักใหม่อีกครั้ง ไม่มีอาการแสดง แต่จะพบคลื่นไฟฟ้าที่สมองผิดปกติ
โรคไข้กาฬหลังแอ่น(Menniggococcal Meningitis)
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย neisserai meningitides เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ
วิธีการติดต่อ เชื้อนี้ติดต่อคนสู่คน โดยเชื้อจะออกมาทางละอองน้ำมูก น้ำลาย จากปากและจมุกผู้ที่เป็นพาหนะ โดยมีระยะฟักตัวประมาณ 2-10 วัน
อาการและการแสดง ไข้ ปวดศีรษะอย่างรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ำเลือดอาจเกิดภาวะช็อกอย่างรวดเร็ว
ภาวะไ่รู้สึกตัวกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการสำคัญคือ มีก้อนที่หลัง หรือที่หน้าผาก ขาอ่อนแรงทั้งสองข้าง ปัสสาวะ อุจจาระ ตลอดเวลา
ไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง มีประวัติ ไม่ได้รับวัคซีนไม่มีประวัติการคลอดในรพ. เป็นชนต่างด้าว นึกถึงPoliomyelitis
แนะนำเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
รับประทานอาหารครบ 5 หมู่
การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้ป่วย หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายที่หักโหมที่จะกระตุ้นให้อาการกำเริบ
การพักผ่อนให้เพียงพอ
สุขวิทยาทั่วไป ระบบขับถ่าย ระวังท้องผูก
มาตรวจสุขภาพตามนัดทุกครั้งหากมีอาการผิดปกติมาก่อนนัดเช่น มีอาการชักมากขึ้นทั้งที่ไม่ขาดยา
แพทย์สั่งเจาะเลือดหาระดับยากันชัก แนะนำงดยากันชักมื้อเช้าก่อนเจาะเลือด
อาการและอาการแสดง