Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดเฉียบพลัน (Precipitate labor) - Coggle Diagram
การคลอดเฉียบพลัน
(Precipitate labor)
ความหมาย
การคลอดที่เกิดขึ้นเร็วผิดปกติ ใช้เวลาทั้งหมด ประมาณ 3 ชม. หรือใช้เวลาทั้งหมดในการคลอดประมาณ 2-4 ชม และมีการเปิดขยายของปากมดลูก ในระยะปากมดลูกขยายเร็ว 5 ซม/ชมในผู้คลอดครรภ์แรก (1 ซม ทุก 12 นาที) และ มากกว่า 10 ซม/ชมในผู้คลอดครรภ์หลัง (1ซม ทุก 6 นาที) ซึ่งเป็นผลจากแรงต้านทานของ เนื้อเยื่อที่หนทางคลอดไม่ดี ความผิดปกติของมดลูกที่แรงมาก
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
ผู้คลอดครรภ์หลัง เนื้อเยื่อต่างๆมีการยืดขยายมาก จึงทาให้ส่วนต่างๆ ได้แก่ คอมดลูก พื้น
เชิงกรานช่องคลอดและฝีเย็บหย่อนตัว
ทารกตัวเล็กหรืออายุครรภ์น้อยกว่ากาหนด ทาให้เคลื่อนต่ำลงมาได้ง่าย
ผู้คลอดที่ไวต่อการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ผู้คลอดที่มีเชิงกรานกว้าง
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก และกล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกติ โดยเกิดขึ้นเองหรือ
จากการให้ยาเร่งคลอดมากผิดปกติ
เคยมีประวัติการคลอดเฉียบพลัน
แรงต้านทานของเนื้อเยื่อที่ช่องคลอดไม่ดี
ผู้คลอดไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดจากการคลอดหรือไม่รู้สึกอยากเบ่ง ซึ่งพบได้น้อยมาก
อาการและอาการแสดง
มดลูกมีการหดรัดตัวอย่างถี่และรุนแรง มากกว่า 5 ครั้งในเวลา 10 นาที
ตรวจภายในพบปากมดลูกมีการเปิดขยายเร็ว ครรภ์แรกปากมดลูกเปิด 5 ซม./ชม.
มีอาการเจ็บครรภเ์ป็นอย่างมาก
การวินิจฉัย
อัตราการเปิดขยายของปากมดลูก เปิดมากกว่า 5 ซม./ชม.ในครรภ์แรก และเปิด มากกว่า 10 ซม./ชม. ในครรภ์หลัง
มีการหดรัดตัวของมดลูกถี่และรุนแรง มีการหดรัดตัวทุก 2 นาที
ระยะเวลาในการเจ็บครรภ์และคลอดน้อยกว่า 3 ชั่วโมง
ความดันภายในโพรงมดลูกประมาณ 50-70 มิลลิเมตรปรอท
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
อาจเกิดภาวะน้าคร่าอุดตัน
มดลูกแตกจากมดลูกหดรัดตัวรุนแรง
เกิดการคั่งของเลือดใต้ชั้นผิวหนังที่ฉีกขาด
ตกเลือดหลังคลอด
ติดเชื้อที่แผลฉีกขาด
มดลูกปลิ้น
เนื้อเยื่อบริเวณช่องทางคลอดเกิดการฉีกขาด
ต่อทารก
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อแขนถูกดึงมากเกินไป
ทารกได้รับบาดเจ็บเนื่องจากการกระทบกระแทกเพราะการช่วยคลอดไม่ทัน
เลือดออกในสมอง (subdural hemorrhage)
ภาวะขาดออกซิเจน (asphyxia)
ทารกอาจเกิดการติดเชื้อเนื่องจากไม่ได้เตรียมทาความสะอาดก่อนคลอด
ทารกอาจสาลักน้าคร่ำ
ถ้าให้การช่วยเหลือช้า ทารกอาจเกิดภาวะหนาวสั่น หรือการช่วยฟื้นคืนชีพช้าทาให้เสียชีวิต
รกลอกตัวก่อนกาหนด
การรักษา
การผ่าตัดคลอด ทาในรายที่มีภาวะแทรกซ้อนจากภาวะมดลูกแตก
การให้ยา รายที่ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ควรหยุดให้และดูแลอย่างใกล้ชิด
ให้การดูแลตามอาการ ถ้าประสบกับการคลอดเฉียบพลันให้ช่วยคลอด
การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย
การซักประวัติ ได้แก่ ประวัติการคลอดเฉียบพลัน ลักษณะอาการเจ็บครรภ์ หรืออาการอื่นๆ
ภาวะจิตสังคม ประเมินความวิตกกังวล และความหวาดกลัว
การพยาบาล
ระยะหลังคลอดให้การดูแลอย่างใกล้ชิด
แนะนาการรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
กระตุ้นให้มารดาใช้เทคนิคการหายใจแบบตื้นๆเร็วๆเบาๆ
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ประเมินและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูกทุก 30 นาที