Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
พบได้มากในเด็กอายุ 6เดือน – 3ปี
จากการขาดวิตามินดี
เป็นโรคของเมตาบอลิซึมของกระดูกที่พบในเด็ก ความบกพร่องในการจับเกาะของเกลือแร่บนเนื้อกระดูกอ่อน
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้
โรคไตบางชนิดทำให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและ ฟอสเฟต
ภาวะฟอสเฟตต่ำ (Hypophosphatasia) จากขาด Alkaline Phosphatase
อาการและอาการแสดง
เด็กเล็ก
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย
กล้ามเนื้อหย่อน
อ่อนแรง
หลังแอ่น
ขวบปีแรก
กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ
รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า
หลังหนึ่งขวบ
ขาโก่ง ขาฉิ่ง
กระดูกสันหลังคดหรือหลังค่อม
การรักษา
แบบประคับประคอง ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
การป้องกัน
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
รับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม
ให้วิตามินดี 200 หน่วยต่อวันต่อน้ำหนักตัว สำหรับเด็กคลอดก่อนกำหนด
ให้ออกกำลังกายกระตุ้นการสร้างของกระดูก
ระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม
Bone and Joint infection
Definite (ติดเชื้อกระดูกอย่างแน่นอน)
Probable (น่าจะติดเชื้อที่กระดูก)
Likely (คล้ายติดเชื้อที่กระดูก)
การวินิจฉัย
อุณหภูมิร่างกาย > 38.3 องศาเซลเซียส
มีอาการปวดข้อ
ปวดมากเมื่อขยับข้อ
ข้อบวม
มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาธิสภาพอื่น ๆ ร่วม
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
Osteomyelitis
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย, เชื้อรา เข้าสู่กระดูก
การวินิจฉัย
ประวัติ
ปวด
อาการไข้
อ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร
การตรวจร่างกาย
มีปวด บวม แดง ร้อน เฉพาะที่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผล CBC พบ Leucocytosis
ESR
CRP มีค่าสูง
ผล Gram stain และ culture ขึ้นเชื้อ
การตรวจทางรังสี
Plain flim พบเนื้อเยื่อส่วนลึกบวม
Bone scan ได้ผลบวก
MRI พบ soft tissue abcess
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
อาการแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
กระทบต่อ physis เป็นส่วนเจริญเติบโตของกระดูก
ข้ออักเสบติดเชื้อ (septic arthritis)
สาเหตุ
จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ
แพร่กระจายจากบริเวณใกล้เคียง
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิค
มีไข้
มีการอักเสบ
ปวดบวมแดง
Lab
เจาะดูดน้ำในข้อ (joint aspiration) มาย้อม gram stain
ผล CBC พบ ESR , CRP สูงขึ้นเล็กน้อย
ตรวจทางรังสี
Plain flim อาจพบช่องระหว่างข้อกว้าง
Ultrasound บอกถึงภาวะมีน้ำในข้อมากหรือเคลื่อนหลุด
Bone scan / MRI ช่วยบอกถึงการติดเชื้อกระดูก
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อน
Growth plate ถูกทำลาย
ข้อเคลื่อน (Dislocation)
ข้อถูกทำลาย (joint destruction)
หวักระดูกขอ้สะโพกตายจากการขาดเลือด(avascular necrosis)
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
พบบ่อยที่ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ จากการไอ จาม
อาการและอาการแสดง
มีเลือดมาเลี้ยงมาก
กระดูกจะบางลง
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก
อ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
มีไข้ต่ำๆ ตอนบ่ายหรือเย็น
ต่อมน้ำเหลืองโต
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC อาจพบ WBC ปกติหรือสูงไม่มาก
ค่า CRP , ESR สูง
ทดสอบ tuberculin test ผล+
การตรวจทางรังสี
plaint film
MRI
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อ การผ่าตัดระบายหนอง
อาการแทรกซ้อนทางกระดูกและข้อ
กระดูกสันหลังค่อม
อ่อน แรงหรือเป็นอัมพาต
ปวดข้อ ผิวข้อขรุขระ
Club Foot (เท้าปุก)
ข้อเท้าจิกลง (Equinus)
ส้นเท้าบิดเข้าใน (varus)
กลางเท้าและเท้าด้านหน้าบิดงุ้มเข้าใน (adduction and cavus)
สาเหตุ
อาจเกิดจาก gene
แม่สูบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์
การติดเชื้อในครรภ์
แบบทราบสาเหตุ
positional clubfoot เกิดจาก uterus impaction affect
teratologoc clubfoot เป็นชนิดที่มีความแข็งมาก
neuromuscular clubfoot พบได้ทั้งแบบเป็นตั้งแต่เกิด / ภายหลัง
การวินิจฉัย
เท้าจิกลง บิดเอียงเข้าด้านใน
positional clubfoot
ขนาดเท้าใกล้เคียงเท้าปกติ
บิดผิดรูป
idiopatic clubfoot
ไม่สามารถหายได้เองต้องได้รับการรักษา
การรักษา
การดัดและใส่เฝือก
การผ่าตัด
การผ่าตัดเนื้อเยื่อ (subtalar soft tissue release)
การผ่าตัดกระดูก (osteotomy)
การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก (triple fusion)
ฝ่าเท้าแบน Flat feet
อาการ
อาการขึ้นกับความรุนแรงของความแบนราบ
ผู้ป่วยอาจจะมีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าจะหนาผิดปกติ
รองเท้าผู้ป่วยจะสึกเร็ว
ปวดฝ่าเท้า
ในรายที่แบนรุนแรงผู้ป่วยจะมีอาการปวดน่อง เข่า และปวดสะโพก
สาเหตุ
พันธุกรรมในครอบครัว
เกิดจากการเดินที่ผิดปกติ
เอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาจจะใช้ ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
Cerebral Palsy
มีการเคลื่อนไหวร่างกายที่ผิดปกติ
สาเหตุ
ก่อนคลอด
อาจมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ
มารดาเป็นโรคแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับมารดาขณะตั้งครรภ์
ระหว่างคลอด/หลังคลอด
คลอดยาก
สมองกระทบกระเทือน
ขาดออกซิเจน
ทารกคลอดก่อนกำหนด
จำแนกลักษณะการเคลื่อนไหว
Spastic CP กล้ามเนื้อเกร็งแน่น ไม่สามารถหดตัวได้
Ataxic CP กล้ามเนื้อจะยืดหดอย่างไม่เป็นระบบระเบียบ
Athetoid CP มีอาการกล้ามเนื้อไม่ประสานกัน
Mixed CP เป็นการผสมผสานลักษณะทั้งสาม
spastic cerebral palsy
Hemiplegia
Double hemiplegia
quadriplegia
Diplegia
อื่น ๆ เช่น monoplegia, paraplegia, triplegia พบน้อยมาก
การรักษา
ป้องกันความผิดรูปของข้อต่างๆ
กายภาพบำบัด (Physical Therapy)
อรรถบำบัด (Speech and Language Therapy)
ลดความเกร็ง
ยากิน กลุ่ม diazepam
ยาฉีดเฉพาะที่ นิยมในปัจจุบัน คือกลุ่ม Botox
การผ่าตัด
ผ่าตัดลดความตึงของกล้ามเนื้อ
ย้ายเอ็น
ผ่าตัดกระดูก
ให้กำลังใจ
รักษาด้านอื่นๆ
การผ่าตัดแก้ไขตาเหล่
การใช้เครื่องช่วยฟัง
ใช้ยาควบคุมการชัก
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
น้ำหนักลด
มีไข้
การเคลื่อนไหวของตำแหน่งที่เป็นผิดปกติ
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้น ๆ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ระยะเวลาการมีก้อนเนื้องอก
อาการปวด
การเคลื่อนไหว
การตรวจร่างกาย
น้ำหนัก
ตำแหน่งของก้อน
การเคลื่อนไหว
ต่อมน้ำเหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
MRI
CT
หาระดับอัลคาไลน์ฟอสฟาเตส (ALP) และระดบั แลคเตส ดีไฮโดรจิเนส (LDH) มีค่าสูงขึ้น
การรักษา
การผ่าตัด
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
Omphalocele
เป็นความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง
ลักษณะทางคลินิก
พบบริเวณกลางทอ้งทารกมีถุง omphalocele ติดอยู่กับผิวหนัง
พบในทารกเพศหญิงได้บ่อยกว่า
การรักษา
conservative
ทำโดยใช้สารละลายฆ่าเชื้อ (antiseptic solution)
ผลการแทรกซ้อนของการรักษาด้วยวิธีนี้อาจเกิดการดูดซึมสารที่เราใช้ทำในปริมาณมากพอจนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
เหมาะสำหรับในรายที่ omphalocele มีขนาดใหญ่
ผ่าตัด
วิธีแรกเป็นการเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย (primary fascial closure)
การปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นข้ันตอน (staged repair)
Gastroschisis
การวินิจฉัย
พบถุงสีขาวขุ่นบาง ขนาดต่าง ๆ กัน
สามารถมองเห็นขดลำไส้หรือตับผ่านผนังถุง
ขนาดที่พบตั้งแต่ 4 – 10 cm
การพยาบาล
การแก้ไขปัญหาฉุกเฉิน
Incubator หรือ ผ้าอุ่น กระเป๋าน้ำร้อน
การประเมินการหายใจ
ใส่ orogastric tube ปลายเปิดลงถุง
Rectal irrigation ด้วย NSS อุ่น
เริ่มให้ antibiotic ได้ทันที
ตรวจระดับน้ำตาล เกลือแร่ในกระแสเลือด
เจาะเลือดแม่เพื่อเตรียมทำการจองเลือด เผื่อว่าต้องทำการให้เลือด
การดูแลโดยทั่วไป
การอาบน้ำไม่ต้องทำ เนื่องจากจะทำให้เด็กตัวเย็นมากขึ้น
ให้ vitamine K 1 mg intramuscular
การรักษาความอบอุ่น
ประเมินภาวะทั่วไป ความสามารถในการหายใจ
decompression stomach
การค้นหาความพกิารร่วม
การดูแลเฉพาะ
การดูแลเฉพาะ
การทำแผล ให้สะอาด หมาดๆ ไม่รัด