Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท กล้ามเนื้อ และกระดูก - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท กล้ามเนื้อ และกระดูก
ระบบประสาท
ภาวะชักและโรคลมชัก (Seizure and Epilepsy)
สาเหตุ
ภาวะติดเชื้อที่กระโหลกศรีษะ
ภาวะเลือดออกในกระโหลกศรีษะ
ภาวะผิดปกติทาง Metabolism
ภาวะผิดปกติทางไต
เนื้องอกในกะโหลกศรีษะ
โรคบาดทะยัก
ภาวะไข้สูงในเด็กเล็ก
ความผิดปกติของสมองโดยกำเนิด
โรคลมบ้าหมู / โรคลมชัก
ชักจากไข้สูง (Febrile Seizure)
เป็นการชักที่สัมพันธ์กับไข้ โดยไม่เกิดจากการติดเชื้อในสมอง หรือความผิดปกติทางเกลือแร่ของร่างกายในเด็กอายุมากกว่า 1 เดือนที่ไม่มีระวัติชักโดยไม่มีไข้มาก่อน พบมากในช่วงอายุ 18-22 เดือน
การพยาบาลเด็กที่่มีอาการชัก
ประเมินลักษณะการชัก ใบหน้า ตาขณะชัก ระดับการรู้สติ ระยะเวลาชัก จำนวนหรือความถี่
ขณะชักให้ผู้ป่วยนอนตะแคงหน้าให้น้ำลายไหลออกจากปาก และดูแลทางเดินหายใจให้โล่งอยู่เสมอ (ดูดเสมหะทางปากและจมูกบ่อยๆ)
Observe vital signs ทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลเช็ดตัวลดไข้ทุก 2 ชั่วโมง
ดูแลสิ่งแวดล้อมให้สะอาด
ดูแลให้ Oxygen, สารน้ำ และยาตามแผนการรักษา
สมองพิการ (Cerebral Palsy)
สาเหตุ
ระยะก่อนคลอด : การมีเลือดออกทางช่องคลอดของแม่ตอนตั้งครรภ์เดือนที่ 6-9 , แม่ขาดสารอาหาร , แม่มีภาวะชักหรือปัญญาอ่อน เป็นต้น
ระยะคลอด : สมองขาดออกซิเจน , ได้รับอันตรายจากการคลอด , รกพันคอ เป็นต้น
ระยะหลังคลอด : ได้รับการกระทบกระเทือนที่ศรีษะ , ตัวเหลืองเมื่อแรกเกิด เป็นต้น
การพยาบาล
ดูแลเรื่องการเคลื่อนไหวร่างกายที่บกพร่อง โดยกระตุ้นให้เด็กนั่ง คลาน เดิน ตามวัย
จัดหาของเล่นให้เด็กเกิดการเคลื่อนไหว
ใช้อุปกรณ์เสริมต่างๆ เช่นอุปกรณ์ช่วยเดิน
ส่งเด็กทำกายภาพบำบัด
ให้ยาคลายกล้ามเนื้อในเด็กที่มีอาการเกร็ง
ศรีษะโตผิดปกติ (Hydrocephalus)
สาเหตุ
ส่วนใหญ่มักเกิดจาก Papilloma ของ Choroid Plexus ของ External Ventricle
มีการอุดตันของทางเดินน้ำไขสันหลังระหว่างจุดที่ผลิตและจุดที่ดูดซึม
ลดการดูดซึมของน้ำไขสันหลังจากการอักเสบจาก Congenital Hypoplasia ของ Arachnoid Villi แต่กำเนิดหลังมีการติดเชื้อบริเวณ Arachnoid
การประเมินสภาพ
หัวโตเมื่อเทียบกับลำตัว รอบศรีษะโตกว่ารอบอกเกิน 2-5 ซม.
มี Sun Set Eye หรือ Setting Sun Sign กล้ามเนื้อแขนขากว้าง ซึม อาเจียน เมื่อมีอาการมากขึ้น ตัวผอม หัวโต
แนวทางการรักษา
ถ้าศรีษะไม่โตมากนัก เกิดจากการมีเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากแบคทีเรีย เจาะหลังใส่ยา ก็อาจให้ความดันของน้ำไขสันหลังปกติ
ถ้าศรีษะโตมากขึ้นเรื่อยๆต้องผ่าตัดเอาส่วนที่อุดตันออก หรือทำ Shunt ให้น้ำไขสันหลังจาก Ventricle ไปสู่บริเวณที่มีการไหลเวียนปกติ
การพยาบาล
ก่อนการผ่าตัด
มีโอกาสเกิดความดันในกระโหลกศรีษะสูง หรือเปลี่ยนแปลงทางประสาท
อาจเกิดภาวะขาดสารน้ำและอาหาร
ความแข็งแรงของผิวหนังผิดจากคนปกติ ต้องดูแลป้องกันการระคายเคืองอละป้องกันการติดเชื้อ
ความสัมพันธ์พ่อแม่และเด็กอาจไม่เป็นไปตามปกติ
หลังผ่าตัด
อาจเกิดการติดเชื้อหรือมีภาวะแทรกซ้อน
อาจเกิดภาวะขาดสารน้ำและอาหาร
ท่อ Shunt อาจเกิดการอุดตัน
อาจทำให้พัฒนาการล่าช้า
พ่อแม่มีความวิตกกังวล เนื่องจากขาดความเข้าใจในการดูแลบุตร
คำแนะนำแก่พ่อและแม่เมื่อเด็กมี Shunt
แนะนำให้สังเกตอาการความดันในกระโหลกศรีษะเพิ่ม เช่น อาเจียน ชักเกร็ง
วังเกตบริเวณที่มี Pump ว่าบวมหรือไม่
จัดท่านอนศรีษะสูงเล็กน้อย ห้ามศรีษะต่ำ
แนะนำเกี่ยวกับอาหาร เช่น ให้รับประทานผักผลไม้เพื่อป้องกันท้องผูก
ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย พามาตรวจตามนัดหรือมีอาการความดัน กระโหลกศรีษะสูง
Myelodysplasia
สาเหตุ
Choromosomal aberration หรือ ทารกในครรภ์ได้รับสารพวก teratogenic drug
การขาดอาหารโดยเฉพาะ สังกะสี โฟเลต วิตามิน
อายุของแม่ กลุ่มเสี่ยงคือ วัยรุ่นและอายุมากกว่า 35 ปี
การรักษา
ส่วนใหญ่แพทย์จะผ่าตัดซึ่งต้องพิจารณาจาก
โอกาสที่เดกจะเจริญขึ้นมาดำเนินชีวิตที่คุ้มค่า
การทำลายของเนื้อสมองจาก Hydrocephalus
ความพิการของ neurologic deficit
ลักษณะของ Meningocele
ถ้าขนาดใหญ่มากผู้ป่วยเด็กตัวเล็กเมื่อผ่าตัดหาผิวหนังปิดยากต้องรอโต
ถ้าผิวที่ปิดบางมากอาจแตกง่ายทำให้ติดเชื้อง่ายควรผ่าตัด
การพยาบาล
ดูแลความสะอาดและปิดแผลด้วย NSS และ sterilized gauze เปลี่ยนทุก 2 ชั่วโมง
จัดท่านอนไม่ให้นอนทับแผล
สังเกตอาการทั่วไปการติดเชื้อ สัญญาณชีพ และอื่นๆ
ดูแลการรับประทานอาหารและน้ำอย่างเพียงพอ
การพยาบาลเด็กโรคติดเชื้อของสมอง
สมองอักเสบ (Encephalitis)
สาเหตุ
อาจมีหลายสาเหตุ เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา ปรสิต หรือปฏิกิริยาต่อวัคซีน
ถ้าเกิดจากไวรัสจะมี 2 ประการคือ
Primary viral encephalitis : การที่ไวรัสเข้าสู่สมองแล้วทำให้เกิดการอักเสบขึ้น มีไวรัสที่นำโดยแมลง ไวรัสเริม ไวรัสโรคพิษสุนัขบ้า
Secondary viral encephalitis : การที่ไวรัสเข้าสู่ร่างกายซึ่งปกติไวรัสนั้นไม่ได้เข้าสู่สมองเป็นสำคัญ
อาการและอาการแสดง
ไข้ มักสูงได้มากๆ ปวดศรีษะ ปวดต้นคอ คอแข็ง
ซึมลง จนกระทั่งถึงขั้นโคม่า ภายใน 24-72 ชั่วโมง
ชัก มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
กระสับกระส่าย อารมณ์ผันแปร
หายใจไม่สม่ำเสมอ
การวินิจฉัย
ประวัติจากผู้เลี้ยงดู เช่น มีไขสูง ซึม คอแข็ง เป็นต้น หรืออาการหรืออาการแสดงข้างต้นเกิดขึ้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์
การรักษา
ดูแลให้หายใจปกติสม่ำเสมอ
ให้ยา
ยาระงับชัก : ในผู้ป่วยชักบ่อยหรือรุนแรง นิยมให้ Phenobarbital
ยาป้องกันและรักษาอาการสมองบวม
ยานอนหลับ
ยา acyclovir สำหรับผู้ที่เป็นโรคไข้สมองอีกเสบจากเชื้อไวรัสเริม
ยาลดไข้
ยาปฏิชีวะนะ
รักษาสมดุลของปริมาณน้ำเข้า-ออก ของร่างกาย
ให้สารอาหารที่มีแคลอรีเพียงพอต่อความต้องการของผู้ป่วย
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meninggitis)
สาเหตุ
Bacterial meningitis
Viral meningitis
Eosinophilic meningitis
Fungal meningitis
ปฏิกิริยาที่ไม่ใช่จากการติดเชื้อ
เนื้องอก
การบาดเจ็บ / กระทบกระเทือนของสมอง
การได้รับสารพิษ
Tuberculous meningitis
อาการและอาการแสดง
อาการที่แสดงว่าติดเชื้อ
มีไข้สูง หนาวสั่น เบื่ออาหาร ในเด็กเล็ก ไม่ยอมดูดนม อาเจียนง่าย
อาการที่แสดงว่ามีการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง
คอแข็ง
Kernig's Sign Positive
Brudzinski's Sign Positive
อาการที่แสดงถึงมีภาวะแทรกซ้อน
สมองบวมน้ำ มีหนองในเยื่อหุ้มสมอง หรือมีฝีในสมอง
การวินิจฉัย
ประวัติของผู้ป่วย มีไข้สูง ปวดศรีษะ ปวดคอ ซึม ไม่ยอมดูดนม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การรักษา
การรักษาเฉพาะ
การรักษาทั่วไปตามอาการและการรักษาแบบประคับประคอง
เช่น ให้ยาลดไข้เมื่อมีไข้ ให้ยากันชักเมื่อชักเกร็ง
การรักษาภาวะแทรกซ้อน
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกหัก
สาเหตุ
อุบัติเหตุ เช่น ถูกตี รถชน ตกจากที่สูง หรือการกระตุ้นจากทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือยันพื้นแล้วกระดูกฝ่ามือแตก และอาจเกิดจากมีพยาธิสภาพของโรคทำให้กระดูกบางหักง่าย เช่น มะเร็งของกระดูก
อาการและอาการแสดง
ปวดและกดเจ็บบริเวณที่หัก
บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่หักหรือกระดูกเกยกัน
รอยจ้ำเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมมาชั้นผิวหนัง
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ เกี่ยวกับอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
ตรวจร่างกาย เหมือนเด็กทั่วไป และให้ความสนใจต่อส่วนที่เจ็บป่วยให้มาก กระทำด้วยความนุ่มนวล
การรักษา
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
แก้ไขตามปัญหาที่เกิดกับกระดูกนั้นๆ
เป้าหมายในการรักษา
ระยะแรกมุ่งลดความเจ็บปวด
จัดกระดูกให้เข้าที่และดามกระดูกให้มีแนวกระดูกจนกระดูกติดดี
ให้กระดูกเข้าที่ดีและติดเร็ว
อวัยวะนั้นกลับมาทำงานได้เร็วที่สุด
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก (fracture of clavicle)
เกิดขึ้นกับเด็กมากที่สุดโดยเฉพาะในเด็กอายุต่ำกว่า 10 ปีส่วนทารกอาจเกิดจากการคลอดติดไหล่
อาการและอาการแสดง
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นไปได้น้อย ไหล่ตก
Crepitus คลำได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนดีประคองแขนเจ็บ
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็กพันแขนข้างเจ็บให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนข้อศอกงอ 90°C ให้ติดกับลำตัวนาน 10-14 วัน ระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็ก
ในเด็กอายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนข้อศอกงอ 90°C และพันให้ติดกับลำตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าสำลี นาน 2-3 สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ในเด็กแรกเกิด มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ทำคลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
ในเด็กโต อาจเกิดจากล้มแล้วต้นแขนหรือไหล่กระแทกพื้นโดยตรง จะพบบวม ช้ำ อาจต้องห้อยแขนด้วยผ้าคล้องแขนนาน 2-3 สัปดาห์ ในรายที่กระดูกเคลื่อนมากควรตรึงด้วย traction นานประมาณ 3 สัปดาห์ อาจทำ skin traction หรือ skeletal traction ก็ได้
กระดูกข้อศอกหัก (Supracondylar fracture)
พบบ่อยในเด็กพลัดตกหกล้มง่ายและบ่อย เกิดจากเอามือไปเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง หรืองอ เด็กจะปวดบวมบริเวณข้อศอกอย่างมาก พบในเด็กวัยก่อนเรียนและวัยรุ่น โรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดคือ Volkman's ischemic contracture
การเคลื่อนที่ของกระดูกเรเดียส (Transient subluxation of radial head, pulled elbow)
เป็นการเคลื่อนที่ของกระดูกเรเดียส ออกมาจากข้อ radio humeral ไม่หมด พบมากอายุต่ำกว่า 6 ปี
กระดูกปลายแขนหัก
พบบ่อยในเด็กหัดเดินจนถึงวัยรุ่นเกิดจากการกระทำทางอ้อม เช่น ล้มแล้วเอามือเท้าพื้น
กระดูกต้นขาหัก (fracture of femur)
พบได้ทุกวัยโดยเฉพาะ 2-3 ปีพบชายมากกว่าหญิง เด็กจะปวดบริเวณที่หัก บวมตรงตำแหน่งกระดูก ถ้าอายุต่ำกว่า 3 ปี แก้ไขโดยใส่เฝือกขาแบบยาว 3-4 สัปดาห์
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด (birth palsy)
สาเหตุ
ข่ายประสาทถูกดึงยึด เช่น การคลอดท่าก้น ภาวะคลอดไหล่ติด
การวินิจฉัย
สังเกตแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวน้อยกว่าธรรมดา
การรักษา
ส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่จำเป็นต้องผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
ประเมินลักษณะอาการบาดเจ็บที่ได้รับ โดยการสังเกต คลำ ดูความสัมพันธ์ของอวัยวะการเคลื่อนไหว
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเผือกปูน
จัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
ประเมินอาการหลังเข้าเฝือก 24 ชั่วโมง ด้วย 5 PS หรือ 6P
Pulselessness ชีพจรเบา,เย็น
Pallor ปลายมือปลายเท้าซีด หรือเขียวคล้ำ
Paresthesia ชา ขาดความรู้สึก
Paralysis เส้นประสาทถูกกดทับ เคลื่อนไหวไม่ได้
Pain มีอาการเจ็บมากกว่าเดิม
Puffiness or Swelling มีอาการบวมมากขึ้นกว่าเดิม
ยกแขนข้างที่เข้าเฝือกให้สูง
ดึงกระดูก (traction)
ดูแลให้การดึงมีประสิทธิภาพตลอด
ดูแลแรงดึงสมดุลเพียงพอกับน้ำหนักผู้ป่วย 1/5 ปอนด์ ต่อน้ำหนัก 5 กิโลกรัม
น้ำหนักที่ใช้ถ่วงแขวนลอยอิสระไม่เตะพื้น จัดท่านอนให้ถูกต้องตาม Traction
สังเกตการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย
ไม่เอาน้ำหนักออกหรือถอด Traction จนกว่าแพทย์สั่ง
รายที่ทำ Skeletal Traction ต้องสังเกตอาการติดเชื้อบริเวณเหล็กดึงกระดูก
ชนิดของ Traction ที่ใช้รักษากระดูกหักในเด็ก
Bryant's traction
Over Head traction หรือ Skeletal the upper limp
Dunlop's traction
Skin traction
Russell's traction
ผ่าตัดทำ open reduction internal fixation (ORIF)
เพื่อให้อยู่นิ่งโดยใช้กระดูกยึดไว้ แพทย์จะพิจารณาทำในรายที่กระดกหักมาก เกิดอันตรายต่ออวัยวะโดยรอบ
การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
ด้านร่างกาย
เตรียมผิวหนังเฉพาะที่
ดูแลความสะอาดของร่างกาย
ตรวจวัดสัญญาณชีพเช้า-เย็น
ประเมินอาการของระบบประสาท/หลอดเลือด
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ/ยา/เอกสารยินยอม/ผลตรวจต่างๆ
ด้านจิตใจ
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม ขั้นตอนการผ่าตัด การปฏิบัติตนหลังผ่าตัด การไออย่งมีประสิทธิภาพ
การพยาบาลผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
ประเมินระดับความรู้สึกตัว ผลข้างเคียงจากการวางยา จัดท่านอนราบ สังเกตการคลื่นไส้ อาเจียน
ประเมินระดับความเจ็บปวดโดยใช้ pain scale ถ้าปวดมากแพทย์อาจให้ยาแก้ปวด
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด
การพยาบเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดการเคลื่อนไหว
ป้องกัน/ลดอาการข้อติดแข็ง กล้ามเนื้อลีบ กระตุ้นให้เด็กออกกำลังกายส่วนนั้นบ่อยๆ
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ เปลี่ยนท่าทุก 2 ชั่วโมง
ลดอาการท้องผูก กระตุ้นให้เคลื่อนไหว จัดอาหารย่อยง่าย ดื่มน้ำให้เพียงพอ
ช่วยให้ปอดขยาย กระตุ้นให้เด็กหายใจเข้าลึกๆ ออกแรงๆ
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการกเิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูก เนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
ประเมินอาการที่บอกว่าติดเชื้อ
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา
ทำความสะอาดบาดแผลก่อนเข้าเฝือก
ให้รับประทานอาหารที่เสริมสร้างเนื้อเยื่อ
การพยาบาลเพื่อลดความเครียดวิตกกังวลเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
สร้างความมั่นใจและรู้สึกดีต่อเด็กและญาติกับบุคลากร
จัดกิจกรรมหรือเปิดโอกาสให้มีการระบายของเด็ก
ประเมินสภาพความต้องการของเด็กและญาติ
ให้ยาเพื่อบรรเทาอาการปวดตามแผนการรักษาของแพทย์
การพยาบาลเพื่อแนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้านอย่างถูกต้อง
สังเกตอาการผิดปกติ เช่น เฝือกเหม็น มีไข้สูง ให้มาโรงพยาบาลทันที
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
ห้ามเอาเฝือกออกเอง
รักษาสุขภาพอนามัยให้แข็งแรง
ดูแลแผลผ่าตัดไม่ให้เปียกหรือสกปรก
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
Volkmann's ischemic contracture
สาเหตุ
เลือดแข็งจับกันเป็นก้อน
งอพับข้อศอกมากเกินไป
ปลายกระดูกหักชิ้นบน
เวลาเข้าเฝือกที่มีการบวมยังบวมอยู่ เมื่อบวมขึ้นเต็มที่ เผฝือกขยายไม่ได้ เลือดจึงไหลเวียนไม่สะดวก
แบ่งได้ 3 ระยะ
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
การหดตัวเกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อ Pronator และ flexor ของแขน มือ และนิ้ว ทำให้งิก งอ ใช้การไม่ได้
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อบวม แดง ดึง แข็ง มีสีคล้ำ ผิวหนังพอง
ระยะเริ่มเป็น
บวม เจ็บ ปวด นิ้วแยกจากกันไม่ได้ นิ้วซีด ชา คลำชีพจรไม่ได้
วิธีป้องกัน
อย่างอศอกมากเกินไป ต้องงอพอที่จะจับชีพจรได้เสมอ
ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพันด้วยผ้าพันธรรมดา
จัดกระดูกให้เข้าที่ดดยเร็วที่สุดขณะหักใหม่ๆ
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
อาการ
มักคลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และจะค่อยๆยุบลงไป
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย ลักษณะ ซักประวัติ
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
การยืดโดยวิธีดัด
การยืดแบบเด็กหันศรีษะเอง
การใช้อุปกรณ์พยุง
การผ่าตัด
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้ ดูดซึมกลับได้น้อย
โรคไตบางชนิด
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
ภาวะฟอสเฟตต่ำ จากการขาด Alkaline Phosphatase
อาการและอาการแสดง
ในเด็กเล็ก ความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง หลังแอ่น ถ้าเด็กโตขึ้น อาจเกิดกระดูกหักได้
การรักษา
แบบประคับประคอง ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
การป้องกัน
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
รับประทานอาหารดดยเฉพาะโปรตีนกับแคลเซียม
ให้วิตามินดี
ให้ออกกำลังกายกระตุ้นการสร้างของกระดูก
ระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม
Bone and Joint infection
Osteomyelitis
อุบัติการณ์
พบในเด็กอายุน้อยกว่า 13 ปี พบมีการติดเชื้อกระดูกที่ยาวที่สุดมักเป็นตำแหน่งเดียว
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย/เชื้อรา จากภายนอกหรืออวัยวะใกล้เคียง แพร่กระจายจากกระแสเลือด
การวินิจฉัย
ประวัติ : ปวด เด็กเล็กไม่ใช้แขนขาส่วนนั้น เด็กทารกนอนนิ่ง
ตรวจร่างกาย มีปวด บวม แดง ร้อน เฉพาะที่หรือไม่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจทางรังสี
การรักษา
ยาตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
อาการแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
กระทบต่อ physis ทำลาย physeal plate ยับยั้งการเจริญเติบโตของกระดูกตามยาว
ข้ออักเสบติดเชื้อ (septic arthritis)
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู่ข้อ เช่น จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ จากกระแสเลือด เชื้อที่เป็นสาเหตุส่วนใหญ่ เช่น แบคทีเรีย
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรกของการติดเชื้อข้อ มักเป็นที่ ข้อเข่า
ผล Lab เจาะดูดน้ำในข้อ มาย้อม gram stain
การตรวจทางรังสี
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อน
Growth plate ถูกทำลาย
ข้อเคลื่อน
ข้อถูกทำลาย
หัวกระดูกสะโพกตายจากการขาดเลือด
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
ตำแหน่งที่พบบ่อย คือ ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ ไอ จาม
อาการและอาการแสดง
กระดูกจะถูกทำลายมากขึ้น กระดูกจะบางลงหรือแตกนอกกระดูกเกิดเป็นโพรงหนองที่ไม่มีลักษณะอักเสบหรือแตกเข้าสู้ข้อใกล้เคียง
ลักษณะทางคลินิก
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด มีไข้ต่ำๆ ตอนบ่ายหรือเย็น ต่อมน้ำเหลืองโต มีปวดข้ออาการจะขึ้นอยู่กับตำแหน่ง
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด ตรวจชิ้นเนื้อ
อาการแทรกซ้อนทางกระดูกและข้อ
Club Foot
ข้อเท้ามีลักษณะจิกลง ส้นเท้าบิดเข้าในส่วนกลางเท้าและเท้าด้านหน้าบิดงุ้มเข้าใน
สาเหตุ
ยังไม่ทราบแน่ชัด
การรักษา
การดัดและใส่เฝือก
การผ่าตัด
ฝ่าเท้าแบน (Flat feet)
อาการ
อาจมีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าหนาผิดปกติ
รองเท้าจะสึกเร็ว
อาการขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการแบนราบ
ปวดฝ่าเท้า
ในรายรุนแรงอาจปวดน่อง เข่า และปวดสะโพก
สาเหตุ
เป็นพันธุกรรม
เกิดจากการเดินผิดปกติ เช่น เดินแบบเป็ด
เอ็นข้อเท้ามีการฉีก
โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
ใส่รองเท้ากว้างมีขนาดพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตนเอง
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาจใช้ Ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการปวด
Cerebral Palsy
ก่อนคลอด
อาจมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ
แม่อาจเป็นโรคแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ เช่น เบาหวาน
อุบัติเหตุที่เกิดกับแม่ขณะตั้งครรภ์
ระหว่างคลอด/หลังคลอด
ปัญหาระหว่างคลอด : คลอดยาก , สมองกระทบกระเทือน , ขาดออกซิเจน , ทารกคลอดก่อนกำหนด
จำแนกโดยการเคลื่อนไหวได้ 4 ประเภทคือ
Ataxic CP
กล้ามเนื้อยืดหดอย่างไม่เป็นระเบียบ ไม่สามารถควบคุมกล้ามเนื้อได้
Athetoid CP
กล้ามเนื้อม่ประสานกัน ทำให้ควบคุมสมดุลไม่ได้
Spastic CP
Hemiplegia
พวกที่มี spasticity ของแขนขาข้างใดข้างหนึ่ง
Double hemiplegia
มีลักษณะของ hemiplegia ทั้งสองข้างแต่ความรุนแรงไม่เท่ากัน
quadriplegia
มี involvement ของแขนขาทั้งสองข้างเท่าๆกัน
Diplegia
involved มากเฉพาะขาทั้ง 2 ข้าง แขนทั้ง 2 ข้างเกือบปกติ
อื่นๆ เช่น monoplegia , paraplegia , triplegia พบน้อยมาก
Mixed CP
เป็นการผสมผสานทั้ง 3 แบบข้างต้น
การรักษา
การผ่าตัด
การดูแลในการให้กำลังใจ
ลดความเกร็งโดยใช้ยา
การรักษาด้านอื่นๆ เช่น ด้านจิตเวช
ป้องกันความผิดรูปของข้อต่างๆ โดยใช้วิธี กายภาพบำบัด หรือ อรรถบำบัด
ภาวะกระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
การตรวจวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย เช่น แนวลำตัว ความพิการ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษอื่นๆ
การซักประวัติความเจ็บป่วยในอดีต
อาการและอาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน
เมื่อก้มจะเห็นตะโหงก (Hump)
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด หายใรตื้น
พบการเลื่อนของกระดูกสันนอกจากแนวกลางตัว ความจุปอดไม่เท่ากัน
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา ด้านโค้งจะฝ่อลีบและบาง
ข้อศอกและขอบกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
การรักษา
การไม่ผ่าตัด
การใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว
การผ่าตัด
การจัดกระดูกโดยโลหะ
แนวทางการพยาบบาล
แนะนำการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
ให้ความรู้ การรักษา การปฏิบัติตนที่ถูกต้อง
แนะนำให้รายงานอาการผิดปกติต่างๆ ที่อาจเกิดหลังผ่าตัด
บอกวิธีทำความสะอาดร่างกายต่างๆ
ดูแลความไม่สุขสบายจากความปวดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลัง
ป้องกันการติดเชื้อที่แผลและเกิดแผลกดทับ
แนะนำการปฏิบัติตัวในการใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
อาการและอาการแสดง
ปวด น้ำหนักลด มีไข้ เคลื่อนไหวผิดปกติ หรืออาจมีกระดูกหักบริเวณนั้นๆ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : ระยะเวลาการมีเนื้องอก อาการปวด
การตรวจร่างกาย : น้ำหนัก ตำแหน่งของก้อน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : MRI , CT
การรักษา
การผ่าตัด
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
การพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของกระดูกที่ทำการผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการให้เคมีบำบัดและรังสีรักษา
อาจไม่สุขสบายจากการปวดแผลและปวดหลอนบริเวณที่ถูกตัด
มีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจในการรักษา
Omphalocele
การรักษา
Conservative
ใช้สารละลายฆ่าเชื้อ มีผลทำให้หนังแปรสภาพไม่แตกง่าย ทำให้มีเลาทำผิวหนังบริเวณขอบของถุงเจริญเติบโตมาคลุม เหมาะสำหรับในรายที่ omaphalocele มีขนาดใหญ่
Operative
การเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย
การปิดผนังหน้าท้องโดยเป็นขั้นตอน : มักจะทำเมื่อ omphalocele มีขนาดเล็ก และมีอวัยวะอยู่ภายในไม่มาก
ลักษณะทางคลินิก
เป็นความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง
Gastroschisis
เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดเกิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังท้องภายหลังจากผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์แล้วเกิดการแตกทะลุของ hermia of umbilical cord
การพยาบาล
การคลอดและการนำส่งโรงพยาบาล
การแก้ไขปัญหาฉุกเฉิน
Incubator หรือ ผ้าอุ่น กระเป๋าน้ำร้อน
การประเมินการหายใจ เตรียม endotrachial tube, suction
ใส่ orogastric tube ปลายเปิดลงถุง
Rectal irrigation ด้วย NSS อุ่น
เริ่มให้ antibiotic ได้ทันที
ตรวจระดับน้ำตาล เกลือแร่ จองเลือดเผื่อแม่ต้องให้เลือด
การดูแลโดยทั่วไป
รักษาความอบอุ่น
ประเมินภาวะทั่วไป
decompression stomach
ก่อนการผ่าตัด
เช็ดทำความสะอาดลำไส้ส่นที่สกปรกป้องกันการติดเชื้อ
หลังการผ่าตัด
Fluid and nutrition support
Peripheral parenteral nutrition
เริ่มให้ตั้งแต่เด็ก stable, หลังผ่าตัด 1 วัน
Enteral nutrition
ให้กินเมื่อเด็ก stable ประมาณ 1 สัปดาห์
Antibiotic prophylaxis
ให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์
Wound care
ทำความสะอาดแผลจนกว่าแผลจะดีขึ้น
Problem
Respiratory distress
Hypothermia
Hypoglycemia, Hypocalcemia