Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 แนวคิดและหลักการพยาบาลเด็กปกติและเจ็บป่วย, ประโยชน์ของการเล่นต่อผู้…
บทที่1 แนวคิดและหลักการพยาบาลเด็กปกติและเจ็บป่วย
ระยะของการเจ็บป่วย
ระยะสุดท้าย
ระยะวิกฤต
ระยะเรื้อรัง
ระยะเฉียบพลัน
รุนแรงมาก
รักษาไม่หายขาด
เสียชีวิตได้อย่างรวดเร็ว
วินิจฉัยการเจ็บป่วยถึงขั้นเสียชีวิต
ความเข้าใจของเด็กเกี่ยวกับความตาย
วัยแรกเกิดและวัยทารก
วัยเดินและวัยก่อนเรียน
วัยเรียน
วัยรุ่น
มองความตายเป็นเรื่องที่ไกลตนเอง
ยอมรับความตายของตนเองยากที่สุด
พ่อแม่ควรให้ความรักการดูแลเอาใจใส่
สามารถจินตนาการเรื่องความตาย
เรียนรู้ว่าตายแล้วกลับคืนไม่ได้
สนใจพิธีการในงานศพ
กลัวการสูญเสียตนเองและบุคคลอันเป็นที่รัก
ความตายเปรียบเสมือนการนอนหลับ
ความตายเป็นจุดสุดท้ายของชีวิต
คิดว่าตายแล้วสามารถกลับคืนมาได้
อายุน้อยกว่า 6 เดือน ไม่เข้าใจความหมาย
มากกว่า 6 เดือน ผูกพันกับผู้เลี้ยงดู
มีปฏิกิริยาด้วยการตอบสนองของ Physiological เพื่อต่อสู้ให้ตนเองมีชีวิตรอด
ทารกจะเชื่อมโยงกับคนรอบข้างโดยผ่านทางการสัมผัส กลิ่น เสียง จะร้องเมื่อเจ็บ
เด็กป่วยกับการเข้ารับการรักษาใน รพ
ประสบการณ์เดิมของเด็ก
ความรุนแรงของการเจ็บป่วย
พัฒนาการตามวัยของเด็ก
ความสามารถของเด็ก
ระบบการดูแล
ปฏิกิริยาของเด็กต่อการเจ็บป่วย
ความเครียดและการปรับตัวของเด็กและครอบครัว
ความวิตกกังวลจากการแยกจาก (separation anxiety)
การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ (body image)
ความเจ็บปวดทางกาย (body injury and pain)
ปฏิกิริยาของบิดามารดาต่อการเจ็บป่วยของเด็ก
ความรู้สึกโกรธและโทษตัวเอง
ความรู้สึกกลัวและวิตกกังวล
การปฏิเสธและไม่เชื่อในระยะแรก
หงุดหงิด คับข้องใจ
ผลกระทบของความเจ็บป่วย
วัยเดิน
คิดว่าบิดามารดาทอดทิ้ง
รู้สึกหวาดกลัว
วัยก่อนเรียน
ยากลำบากในการเรียนรู้
คิดว่าเป็นการลงโทษ
วัยทารก
กินได้น้อยลง
ความผูกพันระหว่างมารดาทารก
วัยเรียน
หย่อนความสามารถ
มีปมด้อยมากขึ้น
วัยรุ่น
ความเชื่อมั่นในตนเอง
บุคลิกภาพ
การพยาบาลเด็กแต่ละระยะของการเจ็บป่วย
ระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤต
pain management
critical care concept
separation anxiety
stress and coping
ระยะเรื้อรังและระยะสุดท้าย
body image
death and dying
สิทธิเด็ก
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง
สิทธิในการมีชีวิต
สิทธิในด้านพัฒนาการ
สิทธิในการมีส่วนร่วม
การแสดงออก
ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี
มีโอกาสเล่น พักผ่อน
การมีส่วนร่วมกิจกรรมในโรงเรียน
ต้องมีชีวิตอยู่รอดปลอดภัย
ต้องประกันอย่างเต็มที่
เด็กทุกคนมีสิทธิติดตัวมาตั้งแต่เกิด
การนำเด็กไปใช้ขอทาน
การทารุณกรรมทางร่างกาย
การขายเด็ก
ความหมายด้านสุขภาพ
บุคคลตั้งแต่แรกเกิดถึง 15 ปี
ช่วงวัยของเด็ก แบ่งตามระยะพัฒนาการ
Toddler เด็กวัยเดิน อายุ 1-3 ปี
Preschool age เด็กก่อนวัยเรียน 3-5 ปี
Infant ทารกอายุมากกว่า 28 วัน ถึง 1 ปี
School age เด็กวัยเรียน 6-12 ปี
Newborn ทารกแรกเกิด 28 วันหลังคลอด
Aldolescent วัยรุ่น 13-15 ปี
ความหมายจากพจนานุกรมไทย ราชบัณฑิตยสถาน
บุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีลงมา
บุคคลผู้มีอายุไม่เกิน 18 ปี บริบูรณ์
บุคคลอายุเกิน 7 ปีบริบูรณ์ และยังไมบรรลุนิติภาวะด้วยการสมรส
วัยยังเล็ก อ่อนวัย
คนที่มีอายุยังน้อย
หลักการดูแลเด็กโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารแก่บิดามารดาอย่างต่อเนื่อง
เข้าใจและผสานความต้องการระยะพัฒนาการ
สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหวา่งบิดามารดากับทีมสุขภาพ
ยอมรับว่าครอบครัวมีจุดแข็ง
เคารพและตระหนักว่า คอบครัวคือส่วนคงที่ในชีวิตเด็ก
เครื่องมือที่ใช้วัด Pain ในเด็ก
CHEOPS
ใช้กับเด็ก 1-6 ปี หรือไม่รู้สึกตัว
คะแนนอยู่ระหว่าง 4-13
พยาบาลเป็นผู้ประเมิน
การแปลผล
4 = ไม่ปวด
5-7 = ปวดน้อย
8-10 = ปวดปานกลาง
11-13 = ปวดมาก
FLACC Scale
คะแนนอยู่ระหว่าง 0-10
พยาบาลเป็นผู้ประเมิน
ใช้กับเด็ก 1 เดือน - 6 ปี หรือไม่รู้สึกตัว
กาแปลผล
1-3 = ปวดน้อย
4-6 = ปวดปานกลาง
0 = ไม่ปวด
7-10 = ปวดมาก
บทบาทของพยาบาลกับการประเมินความปวด
สร้างสัมพันธภาพที่ดีใช้คำพูดสุภาพเข้าใจง่าย
ให้ความสนใจโดยเป็นผู้ฟังที่ดี
ควรบันทึกพฤติกรรมขณะประเมิน
หากเป็นเด็กเล็กให้ถามบิดามารดา
แนวทางการดูแลด้านจิตใจสังคม
การเตรียมเด็กและครอบครัว กาอนเข้ารับการรักษาใน รพ
ป้องกันและลดผลกระทบของการแยกจาก
ลดผลกระทบปฏิกิริยาการสูญเสียการควบคุม
ส่งเสริมพัฒนาการตามวัยและจัดกิจกรรมการเล่นที่เหมาะสม
ประโยชน์ของการเล่นต่อผู้ป่วยเด็ก
ช่วยส่งเสริมการปรับตัวของเด็ก
ผ่อนคลายความตรึงเครียด
ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน
ส่งเสริมฟื้นฟูสภาพร่างกาย
นางสาว สุรีรัตน์ พึงประสพ รุ่น 36/2 เลขที่ 46 รหัส 612001127