Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
ท่าทางของเด็กในภาวะไม่รู้สึกตัว
Decorticate posturing : เป็นท่าที่เด็กนอนหงาย งอแขนทั้ง2ข้างเข้าหาตัวในระดับไหล่ กำมือและงอข้อมือทั้ง2ข้าง งอปลายเท้าทั้ง2ข้างเข้าหากัน ท่านอนนี้จะพบในเด็กที่มีการทำลายเนื้อของสมองส่วน cerebral cortex
ปฏิกิริสะท้อนกลับ (Reflexes)
Decerebrate posturing : เป็นท่าที่เด็กนอนหงาย แขนเกร็งทั้ง2ข้าง ท่านี้จะพบในเด็กที่หมดสติทางสมองส่วน Midbrain
ในช่วงหมดสติระดับลึก (Deep coma) : พบว่า reflexes ของเด็กจะหายไป
เป้าหมายการพยาบาลเด็ก
ได้รับการดูแลขั้นพื้นฐาน
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ได้รับประทานสารอาหารครบถ้วน
ได้รับอาหารทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
บันทึกปริมาณร้ำดื่ม
ทำความสะอาดผิวหนังทุกครั้งหลังขับถ่าย
เปลี่ยนผ้าอ้อมหรือกางเกงทุกครั้ง
อาบน้ำให้เด็กทุกวัน
ดูแลความสะอาดของปาก ฟัน ผิวหนัง เล็บ
ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้
กิจกรรมการพยาบาล
พลิกตะแคงตัวเด็กทุก 2 ชม
ก่อน-หลัง สัมผัสเด็กควรล้างมือ
ถ้าตาแห้งให้ใช้น้ำตาเทียม
ประเมินสภาพผิวหนังเป็นระยะ
ดูแลผิวให้ชุ่มชื้นตลอดเวลา
แรงดันสมองต้องไม่เพิ่ม
กิจกรรมการพยาบาล
จัดท่านอนศรีษะสูง 15-30 องศา
เลี่ยงท่านอนหรือกิจกรรมที่มีแรงดันภายในสมอง
ป้องกันไม่ให้ท้องผู้
ครอบครัวที่ได้รับความรู้และคำแนะนำ
กิจกรรมการพยาบาล
รับฟังปัญหาของครอบครัว
ตอบคำถามที่ครอบครัวอยากทราบ
ให้กำลังใจและประคับประคอง
แนะนำให้เด็กรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
พักผ่อนให้เพียงพอ
ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้ป่วย
แนะนำงดยากันชักมื้อเช้าก่อนเจาะเลือด
การทำทางเดินหายใจให้โล่ง
กิจกรรมการพยาบาล
จัดท่านอนของเด็กให้เหมาะสม
ดูแลไม่ให้มีเศษอาหารอยู่ในช่องปาก
ดูดเสมหะเป็นระยะ
ไม่รู้สึกตัวร่วมกับ
ความดันในสมองสูง
ภาวะน้ำคั่งในกะโหลกศรีษะ
อาการสำคัญ : ศรีษะโตแต่กำเนิด, กระหม่อนหน้าโป่ง
อาการทางคลินิก
หัวบาตร
หัวโตกว่าปกติ
รอบต่อศรีษะแยกออกจากกัน
รอยเปิดกะโหลกโป่งตึง
หนังศรีษะบางจนเห็นเส้นเลือดดำ
การรักษา
ด้วยยา เช่น ยาขับปัสสาวะ เพราะช่วยลดน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
ผ่าตัด
ระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
ระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
โรคแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
ผิดปกติของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
ติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
อุดตันสายระบายน้ำในโพรงสมอง
ระบายน้ำในโพรงสมองมากเกินไป
โพรงสมองตีบแคบ
เลือดออกในศรีษะ
ไตอักเสบ
ไม่รู้สึกตัว ร่วมกับเคลื่อนไหวผิดปกติ
อาการสำคัญ : ชักเกร็ง ซึม ไม่ดูดนม
3 กรณีหลักๆ
1.ไม่มีไข้ ผิดปกติของสมองจากการได้รับบาดเจ็บ (Head injury) เนื้องอกในสมอง (Brain Tumor) โรคลมชัก (Epilepsy)
มีไข้ เกิดจากการติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมอง สมองไขสันหลัง
มีไข้สูง เกิน38 องศา ในอายุประมาณ6เดือน-5ปี จะไม่มีการติดเชื้อของระบบประสาท
บทบาทของพยาบาล
รวบรวมข้อมูลสุขภาพ
ประเมินสัญญาณชีพ
ประเมินทางระบบประสาท
การตรวจพิเศษ
ดูแลเด็กที่มีความผิดปกติทางระบบประสาท
ให้คำแนะนำกับบิดามารดาของเด็กที่ป่วยทางระบบประสาท
ระดับความรู้สึกตัว
ความรับรู้ผิดปกติ : ผู้ป่วยไม่รับรู้ต่อเวลา บุคคล สถานที่
ระดับความรู้สึก stupor : ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว หลับลึก
ความรู้สึกสับสน : ผู้ป่วยจะมีความผิดปกติเกี่ยวกับการตัดสินใจ
ความรู้สึกง่วงงุน : ผู้ป่วยเคลื่อนไหวได้เล็กน้อย พูดช้า สับสน
ความรู้สึกตัวดี : ผู้ป่วยจะรับรู้ต่อเวลา บุคคล และสถานที่
ระดับหมดสติ : ไม่ตอบสนองทั้งด้านการเคลื่อนไหวหรือทางวาจา
ไม่รู้สึกตัว สติปัญญาบกพร่อง
อาการสำคัญ : ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น ข้อติดแข็ง
มีประวัติ : สมองขาดออกซิเจน นึกถึง Cerebral palsy
สมองพิการ (CP : Cerebral palsy)
ความบกพร่อง ทำให้เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว การทรงตัว
1.
กล้ามเนื้อหดเกร็ง
1.1 Splastic quadriplegia ผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง 2ข้าง ศรีษะเล็ก น้ำลายไหล
1.2 Splastic diplehia ผิดปกติทั้ง2ข้างแต่ขาเป็นมากกว่าแขน
1.3 Splastic hemiplegia ผิดปกติที่แขนซีกใดซีกหนึ่ง
2.
Extrapyramidol cerebral palsy : เคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น บังคับร่างกายไปในทิศต่างๆไม่ได้
3.
Ataxia cerebral palsy : มีเดินเซ ล้มง่าย กล้ามเนื้อตึงตัวน้อย
4.
Mixed type หลายอย่างรวมกัน
อาการและอาการแสดง
มีการพัฒนาช้า
ปัญญาอ่อน
มีอาการหูหนวก ชัก ตาบอด ร่วมถึงการพูดผิดปกติ
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ : มารดามีการติดเชื้อขณะคลอด
ประเมินร่างกาย : เส้นรอบศรีษะไม่เพิ่ม พัฒนาไม่เป็นไปตามวัย
ภาวะชักจากไข้สูง
ปัจจัยเสี่ยงของการชัก
อายุ โดยเด็กจะมีอาการชักครั้งแรกในช่วงอายุก่อน 1 ปี
มีความผิดปกติของระบบประสาทก่อนการชัก
มีประวัติในครอบครัว
ไข้ที่เกิดร่วมกับการติดเชื้อ
สาเหตุ
มีการติดเชื้อในระบบต่างๆ ที่ไม่ใช่ประสาท เช่น ระบบทางเดินอาหาร,ทางเดินปัสสาวะ,ทางเดินหายใจ
อาการ
จะมีอุณหภูมิร่างกายสูงกว่า39 องศา และอาการจะเกิดใน24ชั่วโมง เริ่มจากมีไข้ มักจะเกิดในเด็กอายุ 3 เดือน ถึง 5ปี แต่พบมากสุดช่วงอายุ 17-24 เดือน
ชนิดการชักจากไข้สูง
1.Simple febrile seizure
มีไข้ร่วมกับการชัก ในเด็กอายุ 6 เดือน-5ปี
ชักแบบเป็นทั้งตัว
ระยะเวลาชักจะสั้น ประมาณไม่เกิน 15 นาที
ไม่มีการชักซ้ำในการป่วยครั้งเดียวกัน
ก่อน-หลัง ชักไม่มีอาการทางระบบประสาท
2.Complex febrile seizure
เป็นการชักเฉพาะที่หรือทั้งตัวก็ได้
ระยะเวลาการชักนานมากกว่า 15 นาที
จะเกิดการชักซ้ำ ในการเจ็บป่วยครั้งเดียว
หลังชักจะมีความผิดปกติทางระบบประสาท
เด็กที่ชักในชนิดนี้ มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคลมชัก
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ เช่น มีไข้ การติดเชิ้อ ประวัติในครอบครัว
ประเมินสภาพร่างกาย เช่น การตรวจร่างกาย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือ ตรวจพิเศษอื่นๆ
โรคลมชัก (Epilepsy)
ภาวะทางระบบประสาทจะเกิดอย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป โดยครั้งที่2 ต้องห่างจากครั้งแรกอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
อุบัติการณ์
พบมากในเด็กโรคประสาท ร้อยละ4-10 ของเด็กทั่วไป
อายุที่มีอุบัติการณ์บ่อย คือ 2-5ปี เมื่ออายุเพิ่มอุบัติการณ์ก็จะลดลง
พบได้ในเพศชาย > เพศหญิง
สาเหตุ
ที่ทราบ : ติดเชื้อทางระบบประสาทส่วนกลาง, ภยันตรายที่ศรีษะ, น้ำตาลในเลือดต่ำ
ที่ไม่ทราบ : ความผิดปกติของ Neurotransmission ที่ผิดปกติของยีน
กลุ่มที่หาสาเหตุไม่ได้ : มีพยาธิภายใจสมอง ที่จัดอยู่ในกลุ่ม Symtomatic epilepsy
อาการและอาการแสดง
Preictal period เป็นระยะก่อนชัก
อาการนำ : จะมีอาการบางอย่างนำมาก่อน อาจเกินหลายนาที ชั่วโมงก่อนชัก
อาการเตือน : มีอาการปวดชา เห็นภาพหลอน
lctal event
เกิดขึ้นเองหรือบางครั้งมีสิ่งกระตุ้น
เกิดทันทีทันใด
เกิดช่วยสั้น ไม่เกิน 5 นาทีและหยุดเอง
Postictal peroid
เป็นระยะเมื่อการชักสิ้นสุด ระยะนี้จะเกินนานถึงหลายนาทีหรือหลายวันก็ได้ ส่วนใหญ่จะไม่เกิน 24 ชั่วโมง
1.Todd's paralysis กล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉพาะที่
Automatism เป็นการเคลื่อนไหวขณะชัก มักจะมีความสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อ เช่น เคี้ยวปาก กระพริบตาถี่ๆ ตีมือคว่ำหงายสลับ
lnterictal peroid
ช่วงเวลาระหว่างการชัก เริ่มต้นระยะเวลาหลังการชักหนึ่งสิ้นสุดลงไปถึงเริ่มเกิดการชักใหม่
ชนิดของโรคลมชักและกลุ่มอาการชัก
จำแนกตามลักษณะของอาการ
อาการเฉพาะที่ : ชักแบบมีสติ, ชักแบบขาดสติ, ชักเฉพาะที่แบบทั้งตัว
อาการชักทั้งตัว : ชักเหม่อ เป็นอาการไม่รู้สึกตัวชั่วครู่ เกิดระยะสั้น
อาการเกร็งกระตุก
อาการชักตัวอ่อน
อาการชักกระตุก
อาการชักเกร็ง
อาการชักสะดุ้ง
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meninggitis)
มักเกิดในช่วงฤดูหนาว เพราะเป็นช่วงที่ระบบต้านทานในทางเดินหายใจทำงานน้อย
อาการและอาการแสดง : เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย มีไข้สูง หนาวสั่น ปวดศรีษะรุนแรง ชักและซึมลงจนหมดสติ
โรคไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal Meningitis)
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides เป็นเชื้อแกรมลบ ลักษณะกลมคล้ายเมล็ดถั่ว
อาการและอาการแสดง : ไข้ ปวดศรีษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ำเลือด
อาการสำคัญ คือ 1. Meningococcemia , 2. Meningitis
การรักษา
1.Glucocorticoid therapy ก่อนให้ยาปฎิชีวนะ 15 นาที
ยาปฎิชีวนะ เช่น PGS
รักษาแบบประคับประคองตามอาการ
ไม่รู้สึกตัวร่วมกับ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการสำคัญ
มีก้อนที่หลังหรือที่หน้าผาก
ขาอ่อนแรงทั้งสองข้าง
ปัสสาวะ อุจจาระตลอดเวลา
Spina Biflda
เป็นความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง มีถุงยื่นออกมาจากกระดูกไขสันหลัง
myelomeningocele เป็นส่วนที่ยื่นออกมามีทั้งCSF และเนื้อไขสันหลัง
1.Meningocele เป็นก้อนหรือภุงประกอบไปด้วยเยื่อหุ้มสมองน้ำไขสันหลัง
Myelomeningocele กระดูกสันหลังผิดปกติ มีก้อนยื่นออกมา มีเยื่อหุ้มสมอง น้ำไขสันหลังและไขสันหลัง พบบ่อย อันตรายถึงพิการ
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
ตรวจพิเศษ
การรักษา : ไม่จำเป็นต้องรักษา แต่ชนิด Cystica ต้องผ่าตัดภายใน 24-48 ชั่วโมงหลังเกิด