Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด (Amniotic fluid embolism/AFE),…
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
(Amniotic fluid embolism/AFE)
ความหมาย
อาจทำให้ระบบหลายระบบ
ช็อคและเสียชีวิตได้
ภาวะฉุกเฉิน 3 ประการ
ภาวะขาดออกซิเจน
ภาวะความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
ภาวะความดันโลหิตต่ำอย่างทันทีทันใด
เป็นภาวะที่มีน้ำคร่ำผ่านเข้าสู่กระแสเลือดมารดา
ซึ่งจะเข้าสู่หลอดลมฝอย ไปอุดกั้นที่หลอดเลือดดำของปอด
อุบัติการณ์
พบได้น้อยมากประมาณ 1 : 20,000 ของการคลอดทั้งหมด
ถ้าเกิดภาวะนี้อัตราการตายของมารดาและทารกมากกว่าร้อยละ 80
มักเกิดในครรภ์หลังมากกว่าครรภ์แรก
ปัจจัยส่งเสริม
รกลอกตัวก่อนกำหนด
มดลูกแตก
รกเกาะต่ำ
การบาดเจ็บในช่องท้อง
การคลอดเฉียบพลัน
การผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
ทารกตายในครรภ์ เป็นเวลานาน อาจเกิดการฉีกขาดของ
หลอดเลือด ทำให้น้ำคร่ำเข้าสู่กระแสเลือด
มารดามีบุตรหลายคน
การเร่งคลอด โดยการใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
มารดาตั้งครรภ์หลังที่มีอายุมากกว่า 35 ปี
น้ำคร่ำมีขี้เทาปน
การเบ่งคลอดขณะถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
การเจาะถุงน้ำคร่ำ
การรูดเพื่อเปิดขยายปากมดลูก
การตรวจวินิจฉัยน้ำคร่ำก่อนคลอด
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกภายในและภายนอกครรภ์
อาการและอาการแสดง
เกิดภาวะน้ำคั่งในปอด
เส้นเลือดที่หัวใจตีบ
หายใจลำบากเกิดภาวะหายใจล้มเหลวทันทีทันใด
ความดันโลหิตต่ำมาก
คลื่นไส้ อาเจียน วิตกกังวล
ชัก
เหงื่อออกมาก
หมดสติและเสียชีวิตในเวลาต่อมา
มีอาการหนาวสั่น
ถ้าเกิดอาการนานกว่า 1 ชั่วโมง
ผู้คลอดอาจเกิดการตกเลือดรุนเเรงได้
การวินิจฉัย
วินิจฉัยจากอาการ
เลือดออก
ไม่รู้สติ
เส้นเลือดหัวใจหดเกร็ง
อาการเขียว
ระบบหายใจล้มเหลว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหา Sialy 1TH antigen จะพบมีระดับสูงขึ้นในน้ำคร่ำที่มีขี้เทาปนเปื้อน
ตรวจการไหลเวียนของเลือดในปอดอาจพบความบกพร่องในการกำซาบ
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG) พบ tachycardia STและ
T wave เปลี่ยนแปลง
การตรวจหาเซลล์ผิวหนัง ขนอ่อน
ผลกระทบ
มารดา
ผู้คลอดเสียชีวิตจากการเสียเลือด ช็อค ร้อยละ 39
ถ้ามีผู้รอดชีวิตมักมีอาการทางระบบประสาท เนื่องจากมีภาวะขาดออกซิเจนรุนแรง
ทารก
มารดาที่หัวใจและปอดหยุดทำงาน โอกาสรอดของทารกมีค่อนข้างน้อย
โอกาสรอดของทารกมีประมาณร้อยละ 70
การป้องกัน
ไม่ควรกระตุ้นการเจ็บครรภ์โดยวิธีเลาะแยกเยื่อถุงน้ำคร่ำ
ในรายที่มีภาวะรกเกาะต่ำ การตรวจภายในควรจะกระทำอย่างระมัดระวัง
กระตุ้นการเจ็บครรภ์ ในรายที่เด็กตายในครรภ์โดยใช้ Oxytocin drip
ถ้าผู้คลอดเจ็บครรภ์ถี่มากเกินกำหนด ควรรีบรายงานแพทย์ทันที
การเจาะถุงน้ำควรทำอย่างระมัดระวัง ไม่ให้ถูกปากมดลูก
ขณะเจ็บครรภ์คลอด ไม่ควรเร่งให้มดลูกหดรัดตัวถี่เกินไป
การรักษา
เตรียมยาในการช่วยชีวิตผู้คลอดถ้ามีความดันโลหิตต่ำ
เจาะเลือดเพื่อประเมินความเข้มข้นของเลือดและการแข็งตัวของเลือด
ถ้าทารกยังไม่คลอด ให้ฟัง FHS และเตรียม c/s ทันที
รักษาภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติโดยให้ยา Heparin
ดูแลการหดรัดตัวของมดลูก โดยให้ยา oxytocin หรือ methergin ทางหลอดเลือดดำ
ดูแลระบบการไหลเวียนเลือด เพื่อแก้ไขภาวะความดันโลหิตต่ำ
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
ให้ออกซิเจน 100%
จัดท่านอน Fowler ‘ s position
ประเมินการเสียเลือดทางช่องคลอด
การพยาบาล
กิจกรรมการพยาบาล
เฝ้าระวังคำนึงถึงปัจจัยที่ก่อให้เกิดภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
เฝ้าระวังภาวะชักเกร็งโดยไม่มีภาวะความดันโลหิตสูงมาก่อน
ข้อวินิจฉัย
2.เสี่ยงต่อการตกเลือดอย่างรุนแรงและเกิดภาวะช็อก เนื่องจากการขาดกลไกการแข็งตัวของเลือดและมดลูกไม่หดรัดตัว
3.เกิดภาวะขาดออกซิเจนทั้งมารดาและทารก เนื่องจากการหดรัดเกร็งของหลอดเลือดที่ปอดมารดา
1.เสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอดเนื่องจากมีปัจจัยที่ก่อให้เกิดภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
นางสาวสุทัตตา สังข์แก้ว
601001127