Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
ความไม่รู้สึกตัว
เป็นภาวะการทำงานสมองที่ไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ระดับของความรู้สึกตัว
ระดับความรู้สึกตัวดี
ความรู้สึกสับสน
การรับรู้ผิดปกติ
ระดับความรู้สึกง่วงงุน
ระดับความรู้สึกstupor
ระดับหมดสติ
ท่าทางของเด็กในภาวะไม่รู้สึกตัว
Decorticate posturing นอนหงายงอแขน2ข้างเข้าหาตัวกำมือแน่นงอข้อมือ2ข้างขา2ข้างเหยียดปลายเท้าออกงอปลายเท้าเข้าหากัน
Decerebrate posturingนอนหงายแขน2ข้างเกร็ง เหยียดออกและคว่ำแขนลงโดยบิดข้อมืออกด้านข้าง ขา2ข้างเกร็ง เหยียดออก แยกออกจากกัน
ประเมินGlasgow coma scale เหมือนผู้ใหญ่
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับการเคลื่อนไหวผิดปกติ
ชัก เกร็ง ซึม ไม่ดูดนม
ไม่มีไข้ นึกถึงHead injury,Brain tumor,Epilepsy
มีไข้ นึกถึงความผิดปกติทางสมองจากการติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมอง สมองและไขสันหลัง
ไข้สูง ไม่มีการติดเชื้อของระบบประสาทนึกถึง Febrile convulsion
ภาวะชักจากไข้สูง
ปัจจัยเสี่ยงชักซ้ำ
-อายุ
-ความผิดปกติระบบประสาท
-ประวัติชักครอบครัว
-ไข้ที่เกิดกับติดเชื้อ
สาเหตุ ติดเชื้อในระบบต่างๆที่ไม่ใช่ระบบประสาท
อาการ เด็กชักเมื่อTสุงกว่า39 เกิดภายใน24ชม. เเรกเริ่มมีไข้ มักเกิดในเด็ก3เดือน-5ปี
ชนิดของการชักจากไข้สูง
1.simple febrile seizure -ไข้ร่วมกับชัก
-ชักแบบทั้งตัว
-เวลาชักไม่เกิน15นาที
-ไม่ชักซ้ำ
2.Complex febrile seizure -ชักแบบเฉพาะที่กรือทั้งตัว
-นานกว่า15นาที
-ชักซ้ำในการป่วยครั้งเดียว
-หลังชักผิดปกติระบบประสาท
โรคลมชัก
-ภาวะทางระบบประสาทที่ทำให้เกิดอาการชักซ้ำๆ 2ครั้งขึ้นไป ชักครั้งที่2ต้องห่างกันมากกว่า24ชม.ไม่ได้เกิดจากเหตุมีปัจจัยกระตุ้น -พบบ่อยในเด็กโรคประสาท 2-5ปี
-ชายมากกว่าหญิง
ทราบสาเหตุ ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง ภยันตรายระหว่างการคลอด หลังคลอด ศีรษะ ความผิดปกติสมดุลเกลือแร่ร่างกาย สารพิษ ยา
ไม่ทราบสาเหตุ จากความผิดปกติของNeurotransmission
หาสาเหตุไม่ได้ มีพยาธสภาพภายในสมอง
อาการและอาการแสดง
Preictal period ระยะก่อนชัก ประกอบด้วย -อาการนำ อาการบางอย่างมาก่อนชัก
-อาการเตือน ปวด ชา เห็นภาพหลอน
Ictal event ระยะเกิดอาการชัก ตั้งแต่วินาทีถึงนาที ไม่นานเกินครึ่งชม.
Postical peroid เวลาเมื่อชักสิ้นสุดลง การเปลี่ยนแปลงคลื่นไฟฟ้าสมอง อาจเกิดหลายวัน แต่ไม่เกิน24ชม.
Interictal peroid ช่วงเวลาระหว่างชัก ตั้งแต่เวลาหลังการชักหนึ่งไปถึงการชักครั้งใหม่
ชนิดของโรคลมชักและกลุ่มอาการชัก
จำแนกตามลักษณะของอาการชัก
1.ชักเฉพาะที่
-ชักเฉพาะที่แบบมีสติ
-ชักเฉพาะที่แบบขาดสติ
-ชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว
2.ชักทั้งตัว
-อาการชักเหม่อ
กลุ่มอาการชักเหม่อแบบตรง
อาการชักเหม่อที่มีอาการกระตุกหรือสะดุ้งเป็นช่วงเวลาสั้นๆ
อาการชักเหม่อที่มีอาการตัวอ่อนร่วม
อาการเกร็งกระตุก
อาการชักกระตุก
อาการชักเกร็ง
อาการชักตัวอ่อน
อาการชักสะดุ้ง
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การอักเสบเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมองชั้นในสุดและอแรคนอยด์ที่อยู่รอบๆ สมองและไขสันหลังและเยื่อหุ้มสมองถูกทำลาย
มักเกิดในช่วงหน้าหนาว เกิดจากเชื้อนิวโมคอคคัส H.Influenzae และเมนิงโกคอคคัส พบในชายมากกว่าหญิง เด็กอายุ2เดือน-7ปี เข้าทางหูชั้นกลางอักเสบ โพรงอากาศจมูกอักเสบ
อาการและอาการแสดง ไข้สูง หนาวสั่น ปวดหัวรุนแรง ปวดข้อ ชัก ซึม หมดสติ มีอาการคอแข็ง
การประเมินสภาพ
-Meningeal Irritation
-การตรวจน้ำไขสันหลัง CFS
โรคไข้กาฬหลังแอ่น
เชื้อสาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria แบคทีเรียแกรมลบ กลมคล้ายเม็ดถั่ว
แบ่งเป็น13ซีโรกรุ๊ป
การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจ
ด้วยวิธีการทดสอบ
วิธีทางชีวเคมี และวิธี PCR
วิธีการตรวจหาค่าMIC
วิธี seminested PCR
ระยะติดต่อ
ผู้ที่แพร่เชื้อได้คือผู้ที่ไม่มีอาการ และผู้ป่วยสามารถแพร่โรคได้ จนกว่าจะตรวจไม่พบเชื้อในน้ำมูก น้ำลายแล้ว เชื้อจะหมดไปจากช่องโพรงจมูกทางด้านหลัง
วิธีการติดต่อ
-เชื้อนี้ติดต่อจากคนไปสู่คน ทางน้ำมูก น้ำลาย จากปากหรือจมูกของผู้ที่เป็นพาหะหรือผู้ป่วย ฟักตัวประมาณ2-10วัน
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดหัวรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ำเลือดตามผิวหนัง เกิดภาวะช็อคอย่างรวดเร็ว
Meningococcemia
Acute Meningococcemia อาการเกิดอย่างฉับพลัน ปวดหัว เจ็บคอและไอ นำมาก่อน ตามด้วยไข้สูง หนาวสั่น
Chronic Meningococcemia พบได้น้อย อาจเป็นผื่นแดงจ้ำ ปวดและเจ็บข้อเป็นเดือน ไข้เป็นๆหายๆ
Meningitis
มีอาการไข้ ปวดหัว คอแข็ง ซึม สับสน อาการจะแย่ลงอย่างรวดเร็ว
การรักษา
-Glucocorticoid therapy
-ยาปฏิชีวะนะ
-การรักษาแบบประคับประคอง
การป้องกันผู้สัมผัสโรค
คนที่อยู่ในบ้านเดียวกับผู้ป่วย ผู้สัมผัสใกล้ชิด กับผู้ป่วยที่ได้รับยาป้องกัน
การควบคุมป้องกันโรค
ให้ความรู้และประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคแก่ประชาชน
ใช้วัคซีนป้องกันโรคในSerogroups A,C,Y และ W135
สำหรับนักท่องเที่ยวผู้ที่จะเดินทางไปในที่ที่มีการระบาดของโรคและอยู่พื้นที่นั้นนาน
การป้องกันสำหรับผู้สัมผัสโรค รีบให้ยาฆ่าเชื้อทันที
การรักษา ยาpennicilinและchoramphenical
มาตรการเมื่อเกิดการระบาด
ต้องดำเนินการเฝ้าระวังอย่างเข้มงวด
ลดความแออัดหนาแน่นของผู้ที่อยู่ร่วมกัน
ใช้ยา rifampicinแก่ผู้สัมผัสใกล้ชิดเพื่อลดจำนวนผู้เป็นพาหะ
การใช้วัคซีนป้องกันโรคในปชช.ทุกกลุ่มอายุ
ให้คำแนะนำการป้องกันสำหรับปชช.
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในสมองสูง
โรคอุทกเศียร:น้ำไขสันหลังคั่ง
ในโพรงสมอง:Hydrocephalus
ศีรษะโตแต่กำเนิด กระหม่อมหน้าโป่ง ศีรษะโตเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับทรวงอก ปวดหัว ไม่ดูดนม ซึม อาเจียนพุ่ง
อาการแสดงทางคลินิก
-หัวบาตร
-หัวโตกว่าปกติเมื่อเทียบกับGrowth curveปกติ
-รอยต่อของกะโหลกศีรษะแยกออกจากกัน
-รอยเปิดกะโหลกโป่งตึง
-หนังศีรษะบางเห็นเส้นเลือดดำ
-เสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก
การรักษา
-รักษาด้วยยา
-รักษาด้วยการผ่าตัด
1.การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
2.การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
การรักษาIICP
รักษาเฉพาะ รักษาสาเหตุ
ที่ทำให้เกิด
การรักษาเบื้องต้นกรณีมีIICPสูงอย่างเฉียบพลัน
-จัดท่านอนราบศีรษะสูง15-30องศา
-การให้ยาขับปัสสาวะ
-รักษาความผิดปกติที่เกิดต่อเนื่องจากพยาธิสภาพเดิมหรือที่เกิดร่วม
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการสำคัญ
-มีก้อนที่หลัง หน้าผาก ขาอ่อนแรง2ข้าง ปัสสาวะอุจจาระตลอด
-ไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง ไม่ได้รับวัคซีน
Spina Bifida
ความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลังออกมาตามตำแหน่งที่บกพร่อง
แบ่งเป็น2ชนิด 1.Spina bifida occulta
2.Spina bifida cystica
-Meningocele
-Myelomeningocele หรือ Meningomyelocele
การวินิจฉัย
-ซักประวัติ
-การตรวจร่างกาย
-การตรวจพิเศษ CT
การรักษา Spida bifida occulta ไม่จำเป็นต้องรักษาแต่ชนิด Cystica ต้องผ่าตัดภายใน24-48ชั่วโมงภายหลังเกิด เพื่อลดการติดเชื้อ
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
อาการสำคัญ
ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น หายใจไม่มีประสิทธิภาพ การดูดกลืนบกพร่อง เลี้ยงไม่โต ข้อติดแข็ง
สมองพิการ Cerebral palsy
เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว การทรงตัว
1.กล้ามเนื้อหดเกร็ง
-Splastic quadriplegia
-Splastic diplegia
-Splastic hemiplegia
2.Extrapyramidol cerebral palsy
3.Ataxia cerebral palsy
4.Mixed type
อาการและอาการแสดง
-เจริญเติบโตช้าการเคลื่อนไหวการทรงตัวผิดปกติ
-ปัญญาอ่อน
-อาการอื่น ชัก หูหนวก ตาบอด
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ
ประเมินร่างกาย
เป้าหมายการพยาบาลเด็กที่ไม่รู้สึกตัว
การทำทางเดินหายใจให้โล่ง
แรงดันภายในสมองไม่เพิ่มขึ้น
ได้รับการดูแลขั้นพื้นฐานอย่างมีคุณภาพ
ด้านการขับถ่าย
ด้านความสะอาด
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการไม่สามารถเคลื่อนไหวได้
ครอบครัวผู้ป่วยเด็กได้รับความรู้และคำแนะนำเกี่ยวกับความเจ็บป่วย