Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกหัก
ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยก ออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง หรือมีเพียงบางส่วนติดกัน หรือเป็นเพียงแตกร้าว
ข้อเคลื่อน
ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่ หรือหลุดออกจากเบ้า
กระดูกเด็กมีลักษณะที่แตกต่างจากผู้ใหญ่
แผ่นเติบโต (growth Plate) มีความอ่อนแอ กว่าเอ็น (tendon),เอ็นหุ้มข้อ (ligament)และเยื่อหุ้มข้อ (joint capsule)
เยื่อหุ้มกระดูก (periosteum) มีความแข็งแรงและสามารถสร้างกระดูกได้ดี
เยื่อบุโพรงกระดูก(endosteum) สามารถสร้างกระดูกได้มากและเร็ว
ปัญหาด้านการวินิจฉัยกระดูกหักในเด็กการตรวจร่างกายอาจไม่แน่ชัด
การบวมของแขน ขา
การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียน (ischemic changes)
การเจริญเติบโตของเด็กเล็กเริ่มจากการทดแทนกระดูกอ่อน
สถิติกระดูกหักในเด็ก
อายุ ที่พบบ่อยอยู่ในช่วง 6-8ปี และ12-15ปี
เพศชายมากกว่าเพศหญิง
เกิดจากการหกล้ม รองลงมาคือตกจากที่สูง และอุบัติเหตุในท้องถนน
ต้าแหน่งที่พบบ่อยที่สุดคือ กระดูกต้นแขนหัก
ซีกซ้ายมากกว่าทางซีกขวา
ส่วนใหญ่รักษาโดยวิธีอนุรักษ์นิยม คือไม่ผ่าตัด
ใช้เวลาในการรักษา 4-6สัปดาห์
สาเหตุ
จากการได้รับอุบัติเหตุนำมาก่อนมีแรง กระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง
อาการและอาการแสดง
ปวดและกดเจ็บ
บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหัก
รอยจ้้าเขียว
มีลักษณะผิดรูป
การติดของกระดูกเด็ก
กระดูกที่สร้างขึ้นใหม่จะเกิดขึ้นภายหลังกระดูกหักประมาณ 48 ชั่วโมง
การติดของกระดูกนานประมาณ 6-16 สัปดาห์ขึ้นอยู่ กับสาเหตุ อายุ ตำแหน่งและความรุนแรงของอันตรายที่ได้รับ
กระดูกและข้อเคลื่อนในเด็กส่วนใหญ่รักษารักษาโดยไม่ผ่าตัด ยกเว้น
กระดูกมีแผลเปิด (open fracture)
กระดูกหักผ่านข้อ (displaceed intra articular fracture)
กระดูกหักในเด็กตามการแบ่งของ Salter ชนดิ Ш , ІV
กระดูกหักจากการหดตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ (avulsion fracture)
กระดูกคอฟีเมอร์หักและเคลื่อน (displaced fracture neck of femur)
ข้อเคลื่อนที่มีชั้นกระดูกติดอยู่ในข้อ
ข้อเคลื่อนที่ไม่สามารถจัดเข้าที่ได้โดยไม่ผ่าตัด ซึ่งมักเป็นเวลานานกว่า 2 สัปดาห์ หรือมีเนื้อเยื่อขวางกั้น
กระดูกและข้อเคลื่อนในเด็กส่วนใหญ่รักษารักษาโดยไม่ผ่าตัด
การประเมินสภาพ
การซักประวัติเกี่ยวกับเรื่องการเกิดอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
ตรวจร่างกาย
ลักษณะของกระดูกหัก
ลักษณะของข้อเคลื่อน
ลักษณะที่ข้อเคลื่อนออกจากกันโดยตลอด
ข้อที่เคลื่อนออกจากกันเพียงเล็กน้อยโดยที่ยังมีบางส่วนสัมผัสกันอยู่
ตรวจพบทางรังสี
การรักษา
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหัก หรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับกระดูกหักนั้นๆ
เป้าหมายการรักษา
ลดความเจ็บปวด
จัดกระดูกให้เข้าที่และดามกระดูกให้มีแนวกระดูก
ให้กระดูกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว
ให้อวัยวะนั้นกลับทำงานได้เร็วที่สุด
กระดูกไหปลาร้าหัก (fracture of clavicle)
เกิดจากการคลอดติดไหล่
อาการและอาการแสดง
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
Crepitus คลำได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคอง ข้างที่เจ็บ
การรักษา
เด็กเล็ก
ตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา ให้ติดกับลำตัวพันนาน 10-14 วัน
ระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็ก
มากกว่า 3 ปี
ใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ ข้อศอกงอ 90 องศา
พันแขนให้ติดกับลำตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าสำลี คล้อง แขนไว้นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ทารกแรกเกิด
มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ทำคลอด สอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
เด็กโต
ล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอก กระแทกพื้นโดยตรง
หัวไหล่บวม ช้้า
ในรายที่กระดูกหักเคลื่อนออก จากกันมากๆควรตรึงแขนด้วย traction ตรึงไว้นาน ประมาณ 3 สัปดาห์
กระดูกข้อศอกหัก (Supracondylar fracture)
พบบ่อยในเด็กเพราะเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย
เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง หรือข้อศอกงอ
โรคแทรกซ้อน
Volkman’s ischemic contracture
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
ดึง แขนหรือหิ้วแขนเด็กขึ้นมาตรงๆในขณะที่ข้อศอกเหยียดและแขนท่อน ปลายคว่ำมือ
พบได้บ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี
กระดูกปลายแขนหัก
พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึง วัยรุ่น
เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
บริเวณปลายล่างๆ หรือ ส่วนล่าง 1/3 ของลำกระดูก
กระดูกต้นขาหัก (fracture of femur)
อายุ 2 - 3 ปี
เกิดกับเด็กชายมากกว่า
ต้าแหน่งที่พบคือ ช่วงกลางของกระดูกต้นขา
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด
การวินิจฉัยจากการสังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษามีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่ จ้าเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาล
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน
ดึงกระดูก (traction)
Bryant’s traction
Over Head traction หรือ Skeletal traction the upper limb
Dunlop’s traction
Skin traction
Russell’s traction
ผ่าตัดทำ open reduction internal fixation (ORIF)
การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
ด้านร่างกาย
เตรียมผิวหนังเฉพาะที่
ดูแลความสะอาดของร่างกาย
ตรวจวัดสัญญาณชีพ
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ / ยา /เอกสารใบเซ็นยินยอม / ผล Lab / ผล X-ray
ด้านจิตใจ
สภาพแวดล้อมภายในห้องผ่าตัด
ขั้นตอนในการผ่าตัดโดยสังเขป
การปฏิบัติตัวภายหลังได้รับยาระงับความรู้สึก
การไออย่างมีประสิทธิภาพ
การพยาบาลผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย ผลข้างเคียงของการวางยาชนิด GA / การจัดท่านอนให้นอนราบไม่หนุนหมอน สังเกตอาการคลื่นไส้อาเจียน
การประเมินระดับความเจ็บปวดโดยใช้ pain scale
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด
ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดเคลื่อนไหว
ออกกำลังบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ
เปลี่ยนท่าอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
กระตุ้นให้เด็กมีการเคลื่อนไหว จัดอาหารที่มีกากมาก ดื่มน้ำให้เพียงพอ
หายใจเข้าออกลึกๆแรงๆหลายๆครั้ง
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ถึงการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ
ป้องกันการติดเชื้อที่กระดูกเนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
ทำความสะอาดบาดแผลก่อนการเข้าเฝือก
ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดง
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่จะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
ลดความเครียดวิตกกังวลเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ประเมินสภาพความต้องการทางด้านจิตใจ
สร้างความมั่นใจและความรู้สึกที่ดี
จัดกิจจกรรมหรือเปิดโอกาสให้เด็กและญาติให้มีการระบายออก
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
บรรเทาปวด
ประเมินระดับอาการปวดของผู้ป่วย
จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
ตรวจดูว่าเฝือกคับหรือskin traction
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้านอย่างถูกต้อง
ดูแลแผลผ่าตัด
ห้ามผู้ป่วยและญาติแกะแผลหรือเอาเฝือกออกเอง
ควรสังเกตอาการผิดปกติที่จำเป็นต้องมาโรงพยาบาลทันที
ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
รักษาสุขภาพอนามัยให้แข็งแรงอยู่เสมอ และหมั่นออกกำลังกายกล้ามเนื้อและข้อ
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
ลักษณะรูปร่างของนิ้ว มือ และแขนใน Volkmann’s ischemic contracture
สาเหตุ
ปลายกระดูกหักชิ้นบน
เลือดแข็งจับกันเป็นก้อน
งอพับข้อศอกมากเกินไป
จากการเขา้เฝือก
ระยะ
เริ่มเป็น
อักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อหดตัว
วิธีป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุด
อย่างอข้อศอกมากเกินไปขณะที่ใส่เฝือก
ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพันด้วยผ้าธรรมดา
แนะนำผู้ป่วยปฏิบัติตัว
ยกบริเวณที่หักให้สูงกว่าระดับหัวใจตลอดเวลา
มีอาการบวมมากและเจ็บปวด ควรรีบปรึกษาแพทย์ทันที
มีอาการปวด บวม หรือชา จะต้องรีบปรึกษาแพทย์
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
อาจพบร่วมคือ ข้อสะโพกผิดปกติ เท้าผิดปกติ
อาการ
คลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง
ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง
ศีรษะบิดเบี้ยว ไม่สมดุล
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย ลักษณะของผู้ป่วย ซักประวัติ
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่หดสั้น
ยืดโดยวิธีดัด (passive stretch)
ยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง (active streth)
ใช้อุปกรณ์พยงุ (orthosis)
ผ่าตัด
polydactyly
จากพันธุกรรม
รักษาโดยการผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อน ที่พบมากที่สุดใน polydactyly preaxial
ภาวะสันหลังคด(Scoliosis)
สาเหตุ
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในเนื้อกระดูกสันหลัง (Non Structurial Scoliosis)
มีการเปลี่ยนแปลงของกระดูกสันหลัง (structural Scoliosis)
ตรวจวินิจฉัย
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ตรวจร่างกาย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษอื่น ๆ
อาการและอาการแสดง
พบกระดูกหลังโค้งไปด้านข้าง
มองเห็นตะโหงก (Hump)
หายใจตื้น หายใจลึกทำได้ยาก
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวกลางตัว
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา
Iliac Creast ไม่อยู่ระดับเดียวกัน
การรักษา
ไม่ผ่าตัด
ผ่าตัด
แนวทางการพยาบาล
แนะนำการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
ดูแลความไม่สุขสบายจากความปวดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลัง
ป้องกันการติดเชื้อที่แผลและเกิดแผลกดทับ
แนะนำการปฏิบัติตัวในการใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว