Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับกล้ามเนื้อและกระดูก, นางสาวสุกัลยา …
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับกล้ามเนื้อและกระดูก
กระดูกหัก
กระดูกปลายแขนหัก
พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ่น
เกิดจากการกระท้าทางอ้อม
ตกจากที่สูง
หกล้มเอามือเท้าพื้น
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด (birth palsy)
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด
การคลอดท่าก้น
ภาวะคลอดติดไหล่
เด็กมีน้ำหนักมาก
การคลอดที่ยาวนาน
การวินิจฉัย
จากการสังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา
ส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่จ้าเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture )
พบบ่อยในเด็กเพราะเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย
เด็กจะปวดบวมบริเวณข้อศอกอย่างมาก
โรคแทรกซ้อน
Volkman’s ischemic contracture
อาจเกิดปัญหาการเจริญเติบโตของกระดูก Humerus
กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur )
พบได้ทุกวัย โดยเฉพาะอายุ 2 - 3 ปี
เกิดกับเด็กชายมากกว่า เพราะซนกว่า
อาการ
ช่วงกลางของกระดูกต้นขา เด็กจะปวด
บริเวณข้างที่หัก บวมตรงต้าแหน่งกระดูก
การรักษา
ถ้าอายุต่ำกว่า 3 ปี ให้ใส่เฝือกขาแบบยาว นาน 3-4 สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ในทารกแรกเกิด มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ทำคลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
เด็กโต อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง
จะพบหัวไหล่บวม ช้ำ
เวลาจับไหล่หรือแขนให้มีการเคลื่อนไหวจะเจ็บปวด
การรักษา
ห้อยแขนข้างที่หักไว้ด้วยผ้าคล้องแขนไว้นานประมาณ 2 - 3 สัปดาห์
รายที่กระดูกหักเคลื่อนออกจากกันมากๆควรตรึงแขนด้วย traction ตรึงไว้นาน 3 สัปดาห์
อาจทำ skin traction หรือ skeletal traction ก็ได้
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส (Transient subluxation of radial head , pulled elbow )
การเคลื่อนที่ของหัวกระดูกเรเดียส ออกมาจากข้อ radio-humeral ไม่หมด
พบได้บ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี
เกิดจากดึงแขนหรือหิ้วแขนเด็กขึ้นมาตรงๆในขณะที่ข้อศอกเหยียดและแขนท่อนปลายคว่ำมือ
1.กระดูกไหปลาร้าหัก ( fracture of clavicle )
เด็กอายุต่ำกว่า 10 ปี หรือ คลอดไหล่ติด
อาการ
Crepitus คล้าได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา ให้ติดกับลำตัวพันนาน 10-14 วัน ระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็ก
เด็กอายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา และพันแขนให้ติดกับลำตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าส้าลี คล้องแขนไว้นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
การพยาบาลเด็กที่ได้รับบาดเจ็บของกระดูกและข้อ
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ โดยการสังเกต คล้า ดูความสัมพันธ์ของอวัยวะการเคลื่อนไหวของข้อต่าง ๆ การยกขึ้น งอหรือเหยียด ตรวจสอบความตึงตัว อาการเกร็งของกล้ามเนื้อ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
3.2 ดึงกระดูก( traction)
Dunlop’s traction
Skin traction
Over Head traction หรือ Skeletal traction the upper limb
Russell’s traction
Bryant’s traction
3.3 ผ่าตัดท้า open reduction internal fixation ( ORIF )
3.1 เข้าเฝือกปูน
การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
1.ด้านร่างกาย
การตรวจวัดสัญญาณชีพ / ผู้ป่วยจะได้รับการตรวจชีพจร เช้า เย็น
การประเมินอาการของระบบประสาท และหลอดเลือด
การดูแลความสะอาดของร่างกาย อาบน้้า แปรงฟัน ในเด็กเล็กอาจใส่ผ้าอ้อมส้าเร็จรูป การส้ารวจว่ามีฟันโยกในเด็ก
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ/ยา/เอกสารใบเซ็นยินยอม/ผล Lab/ผล X-ray
การเตรียมผิวหนังเฉพาะที่
ด้านจิตใจ
ขั้นตอนในการผ่าตัดโดยสังเขป
การปฏิบัติตัวภายหลังได้รับยาระงับความรู้สึก
สภาพแวดล้อมภายในห้องผ่าตัด
การไออย่างมีประสิทธิภาพ
การพยาบาลผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
1.ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย ผลข้างเคียงของการวางยาชนิด GA / การจัดท่านอนให้นอนราบไม่หนุนหมอน สังเกตอาการคลื่นไส้อาเจียน
การประเมินระดับความเจ็บปวดโดยใช้ pain scale ถ้าปวดอาจพิจารณาให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด ถ้ามีเลือดออกมาผิดปกติให้ใช้ผ้าก๊อสหนาๆ ปิดทับพันให้แน่นห้ามดึงของเก่าออก แล้วรีบรายงานแพทย์
การพยาบาลเพื่อให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้านอย่างถูกต้อง
การดูแลแผลผ่าตัด ควรระวังไม่ให้แผลเปียกน้้าหรือสกปรก
ห้ามผู้ป่วยและญาติแกะแผลหรือเอาเฝือกออกเอง
ควรสังเกตอาการผิดปกติที่จ้าเป็นต้องมาโรงพยาบาลทันที ได้แก่ เฝือกมีกลิ่นเหม็น,ปลายมือปลายเท้าชา เขียวคล้้า,มีไข้สูง
ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อให้แผลหายดี
รักษาสุขภาพ อนามัยให้แข็งแรงอยู่เสมอ และหมั่นออกกำลังกายกล้ามเนื้อและข้อ โดยเฉพาะการกำแบมือบ่อยๆ
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
อาการ
คลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ลักษณะของผู้ป่วย ซักประวัติ
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา โดยยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่หดสั้น
การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch)
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง (active streth)
การใช้อุปกรณ์พยุง (orthosis)
การผ่าตัด ในช่วงอายุ 1 – 4 ปี
ภาวะกระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
อาการและอาการแสดง
5.กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา ส่วนด้านโค้งออกจะฝ่อลีบและบาง
6.ข้อศอกและขอบกระดูกเชิงกราน (Iliac Creast) ไม่อยู่ระดับเดียวกัน
4.พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวกลางตัว ความจุในทรวงอกข้างไม่สมมาตรกัน
7.ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน
3.ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด มักหายใจตื้น หายใจลึกทำได้ยาก
8.สังเกตว่าใส่เสื้อผ้าไม่พอดี
2.เมื่อก้มตัวไปด้านหน้าจะมองเห็นตะโหงก (Hump) จากการหมุนของกระดูกซี่โครง
9.เกิดอาการปวดเมื่อหลังคดมาก แต่ในเด็กพบอาการปวดไม่บ่อย
1.ความพิการของกระดูกสันหลังพบกระดูกหลังโค้งไปด้านข้าง
10.เริ่มมีอาการ เมื่ออายุยิ่งน้อยจะยิ่งมีความพิการมาก
การรักษา
1.การรักษาแบบไม่ผ่าตัด คือการใส่อุปกรณ์ดัดล้าตัว (Brace)
2.การรักษาแบบผ่าตัด การจัดกระดูกสันหลังโดยการใช้โลหะดาม กระดูกสันหลัง จัดกระดูกสันหลังให้เข้าที่ และ เชื่อมข้อกระดูกสันหลังให้ตรง โดยการโรยกระดูกให้เชื่อมกัน
การพยาบาล
2.ดูแลความไม่สุขสบายจากความปวดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลัง
3.ป้องกันการติดเชื้อที่แผลและเกิดแผลกดทับ
1.แนะน้าการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
สอนและสาธิตวิธีการไอ หายใจอย่างมีประสิทธิภาพ การออกกำลังแขน ขาและหลัง
แนะนำการใช้หม้อนอน การรับประทานและดื่มบนเตียง การลุกออกจากเตียงและเข้าเตียงโดยให้หลังตรงใช้ท่าตะแคงหรือนอนคว่ำ
แนะน้าให้รายงานอาการผิดปกติต่างๆที่อาจเกิดหลังผ่าตัด
บอกผู้ป่วยให้ทราบวิธีการเตรียมความสะอาดร่างกายทั่วไปก่อนผ่าตัด
อธิบายวิธีการพลิกตัวหลังผ่าตัดโดยให้ไหล่และสะโพกพลิกไปพร้อมกัน (Logrolling)
บอกผู้ป่วยให้ทราบหลังผ่าตัดมีสายน้้าเกลือ สายระบายจากแผลผ่าตัด
บอกผู้ป่วยต้องนอนในหออภิบาลหลังผ่าตัด เพาะต้องดูแลอย่างใกล้ชิด
อธิบายให้ทราบว่าหลังผ่าตัดต้องนอนบนเตียงประมาณ 2 สัปดาห์ หลังจากนั้นแพทย์จะใส่เฝือก
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรค
ให้ผู้ป่วยคุ้นเคยกับเฝือกปูนและการดึงถ่วงน้ำหนัก
4.แนะนำการปฏิบัติตัวในการใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว
กระดูกอ่อน (Ricket)
พบได้มากในเด็กอายุ 6 เดือน – 3 ปี
สาเหตุ
โรคไตบางชนิดท้าให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟต
ภาวะฟอสเฟตต่้า (Hypophosphatasia) จากขาด Alkaline Phosphatase
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
อาการ
ในเด็กเล็ก ความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย
กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า
พบขาโก่ง ขาฉิ่ง
กระดูกสันหลังคด หรือหลังค่อม
การรักษา
แบบประคับประคอง ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
การป้องกัน
ให้วิตามินดี 200 หน่วยต่อวันต่อน้้ำหนักตัวสำหรับเด็กคลอดก่อนกำหนด
ให้ออกกำลังกายกระตุ้นการสร้างของกระดูก
การรับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม
ระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
Bone and Joint infection
Osteomyelitis
พบในเด็กอายุน้อยกว่า 13 ปี พบมีการติดเชื้อที่กระดูกท่อนยาวมากที่สุด
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย,เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอก
การแพร่กระจายจากกระแสเลือด
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย มีปวด บวม แดง ร้อน เฉพาะที่ บริเวณที่มีพยาธิสภาพอาจมีความผิดปกติ ปวด ปวดมากขึ้นถ้ากดบริเวณนั้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผล CBC พบ Leucocytosis , ESR , CRP มีค่าสูง ผล Gram stain และculture ขึ้นเชื้อที่เป็นสาเหตุ
1.ประวัติ มีอาการปวด เด็กเล็กแสดงออกโดยไม่ใช้แขน ขา ส่วนนั้นทารกนอนนิ่งไม่ขยับแขนขาข้างที่เป็นอาการไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร อาจมีการบาดเจ็บเฉพาะที่
การตรวจทางรังสี Plain flim Bone scan MRI
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
อาการแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
กระทบต่อ physis เป็นส่วนเจริญเติบโตของกระดูก ท้าลาย physeal plate ยับยั้งการเจริญของกระดูกตามยาว มีการโก่งผิดรูปของกระดูก
ข้ออักเสบติดเชื้อ (septic arthritis)
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู่ข้อ
จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ หรือแพร่กระจาย
การวินิจฉัย
ผล Lab เจาะดูดน้้าในข้อ (joint aspiration) มาย้อม gram stain ผล CBC พบ ESR , CRP สูงขึ้นเล็กน้อย
การตรวจทางรังสี Plain flim, Ultrasound, Bone scan / MRI
1.ลักษณะทางคลินิค มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรกของการติดเชื้อข้อ มักเป็นที่ ข้อเข่า
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด ได้แก่ Arthrotomy and drainage
ภาวะแทรกซ้อน
ข้อเคลื่อน (Dislocation)
ข้อถูกทำลาย (joint destruction)
1.Growth plate ถูกทำลายทำให้การเจริญเติบโตตามความยาวกระดูกและการทำหน้าที่เสียไป
หัวกระดูกข้อสะโพกตายจากการขาดเลือด (avascular necrosis)
Club Foot (เท้าปุก)
รูปร่างของเท้าที่มีลักษณะข้อเท้าจิกลง (equinus) ส้นเท้าบิดเข้าใน (varus) ส่วนกลางเท้าและเท้าด้านหน้าบิดงุ้มเข้าใน (adduction and cavus)
สาเหตุ
แบบทราบสาเหตุ
teratologoc clubfoot เป็นชนิดที่มีความแข็งมาก
neuromuscular clubfoot พบได้ทั้งแบบเป็นตั้งแต่เกิด / ภายหลัง
positional clubfoot เกิดจาก uterus impaction affect
แบบไม่ทราบสาเหตุ
พบตั้งแต่กำเนิด
เพศชาย: เพศหญิง = 2.5 : 1 มีความสัมพันธ์ในพันธุกรรม
การรักษา
สามารถใช้ฝ่าเท้ารับน้้ำหนัก ได้เหมือนหรือใกล้เคียงปกติ
เท้าสามารถเคลื่อนไหวใกล้เคียงปกติและสามารถใช้เท้าได้โดยไม่เจ็บปวด
ทำให้เท้ามีรูปร่างใกล้เคียงเท้าปกติมากที่สุด
การผ่าตัด
การผ่าตัดกระดูก (osteotomy)
การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก (triple fusion)
การผ่าตัดเนื้อเยื่อ (subtalar soft tissue release)
ฝ่าเท้าแบน Flat feet
อาการ
ผู้ป่วยอาจจะมีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าจะหนาผิดปกติ
ในรายที่แบนรุนแรงผู้ป่วยจะมีอาการปวดน่อง เข่า และปวดสะโพก
รองเท้าผู้ป่วยจะสึกเร็ว
อาการขึ้นกับความรุนแรงของความแบนราบ
ปวดฝ่าเท้า
สาเหตุ
เกิดจากการเดินที่ผิดปกติเช่นการเดินแบบเป็ดคือมีการบิดของเท้าเข้าข้างใน
เกิดจากเอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
เป็นพันธุกรรมในครอบครัว
โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
การรักษา
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาจจะใช้ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
อาการ
มีไข้
การเคลื่อนไหวของตำแหน่งที่เป็นผิดปกติ รับน้้าหนักไม่ได้ มักมีประวัติการเกิดอุบัติเหตุ
น้้าหนักลด
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้น ๆ
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย : น้้าหนัก ต้าแหน่งของก้อน การเคลื่อนไหว ต่อมน้้าเหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : MRI , CT เพื่อดูการแพร่กระจายของโรค (ALP) และ (LDH) มีค่าสูงขึ้น
การซักประวัติ : ระยะเวลาการมีก้อนเนื้องอก อาการปวด การเคลื่อนไหว
การรักษา
การผ่าตัด
เคมีบ้าบัด
รังสีรักษา
การพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของกระดูกที่ทำการผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากเคมีบ้าบัดและรังสีรักษา
ไม่สุขสบายจากการปวดแผลผ่าตัดและปวดหลอน (Phantom pain)บริเวณแขน/ขา ที่ถูกตัด
มีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการรักษาพยาบาล
omphalocele
ความผิดรูปแต่ก้าเนิดของผนังหน้าท้อง
มีการสร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์
ลักษณะทางคลินิก
ตรวจก่อนคลอด ใช้อัลตราซาวนด์สามารถวินิจฉัยภาวะ omphalocele
หลังคลอดพบบริเวณกลางท้องทารกมีถุง omphalocele ติดอยู่กับผิวหนัง
ผนังบางมองเห็นอวัยวะภายในได้
พบในทารกเพศหญิงได้บ่อย
การรักษา
conservative
operative
การรักษาด้วยวิธีผ่าตัด
การเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย (primary fascial closure)
การปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นขั้นตอน (staged repair) ทำเมื่อ omphalocele มีขนาดเล็ก และมีอวัยวะอยู่ภายในไม่มาก
Gastroschisis
ความผิดปกติแต่กำเนิดเกิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังท้องภายหลังจากผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์แล้ว เกิดการแตกทะลุของ hermia of umbilical cord
การวินิจฉัย
เมื่อคลอดพบว่าที่หน้าท้องทารกจะพบถุงสีขาวขุ่นบาง ขนาดต่างๆกัน
สามารถมองเห็นขดลำไส้หรือตับผ่าน
ผนังถุงอาจมีส่วนของถุงบรรจุ wharton’s jelly
สายสะดือติดอยู่กับตัวถุง ขนาดที่พบตั้งแต่ 4 – 10 cm
การดูแลโดยทั่วไป
การรักษาความอบอุ่น
ประเมินภาวะทั่วไป ความสามารถในการหายใจ
ให้ vitamine K 1 mg intramuscular
decompression stomach
การอาบน้้า ไม่ต้องทำเนื่องจากจะท้าให้เด็กตัวเย็นมากขึ้น
การค้นหาความพิการร่วม
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด
เช็ดท้าความสะอาด ล้าไส้ส่วนที่ สกปรก ป้องกันการติดเชื้อ
การพยาบาลหลังการผ่าตัด
ถ้าเป็นgastroschisis มี Insensible loss เฉลี่ย daily requirment 200 ml./kg./day
Peripheral parenteral nutrition เริ่มให้ได้ตั้งแต่เด็ก stable , หลังผ่าตัด 1 วัน
ถ้าเป็น omphalocele ให้IV fluid เป็น 10%DN/5 เป็น maintenanceบวกกับที่สูญเสียออกมาทางOG tube
Enteral nutrition : จะอนุญาตให้กินได้เมื่อเด็ก stable ประมาณ 1สัปดาห์ โดยดูว่าท้องไม่แน่น OG content ไม่เป็นน้ำดี
จัดท่านอนหงาย , สังเกตการหายใจ , การขับถ่าย , ตรวจดูว่ามี discharge ออกมาจากแผล swab culture
Antibiotic prophylaxis : ให้ ampicillin และ gentamicin ประมาณ 5 วัน
สังเกตว่าเด็กจะมี tremor, cyanosis หรือ convulsion อาจจะเกิด periodic apnea
Wound care : ถ้าเป็น omphalocele ใหญ่ให้ดูแลทำความสะอาดแผลกว่าจะเริ่มดีขึ้น ทำแผลวันละครั้ง
ต้องให้เด็กอยู่ในตู้อบ (incubator) ปรับอุณหภูมิตามตัวเด็ก
การติดตามการรักษา ภาวะที่อาจจะต้องแก้ไขต่อไป เช่น ventral hernia นัดมาแก้ไขประมาณ อายุ 2 - 4 ปี
ใส่ endotrachial tube และให้ muscle relaxant 1-2 วัน หลังผ่าตัด
นางสาวสุกัลยา บุญยิ่ง เลขที่ 82 ห้อง 2B รหัสนักศึกษา 613601191