Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอดด้วย สูติศาสตร์หัตถการ - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอดด้วย
สูติศาสตร์หัตถการ
Cesarean section
ข้อบ่งชี้
mechanical dystocia CPD รกเกาะต่ำ fetal destress ภาวะสายสะดือพลัดต่ำ มาดาที่เคยผ่าตัดคลอดครรภ์ก่อน โรคแทรกซ้อนทางอายุรกรรม
ครรภ์แฝดที่ทารกไม่อยู่ท่าศีรษะทั้งคู่ ประวัติคลอดยาก ติดเชื้อเริม ที่อวัยวะสืบพันธ์ ระยะใกล้คลอด
:forbidden:ห้าม
ทารกตายในครรภ์ เว้น มีข้อบ่งชี้ทางมารดา เช่น ภาวะ PPH
ทารกพิการ ไม่สามารถรอดชีวิตได้หลังคลอด
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาระงับความรู้สึก อันตรายจากการผ่าตัด
การพยาบาล
ก่อนทำ
เตรียมแบบผ่าตัดทั่วไป และให้เซ็นใบยินยอม
ขณะทำ
ประเมิน V/S ผู้คลอดทุก 5 – 15 นาที สังเกต ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาระงับความรู้สึก เช่น หายใจลำบาก กระสับกระส่าย คลื่นไส้ อาเจียน ปริมาณปัสสาวะ ควรออก > 30 ซีซี/ชั่วโมง ปริมาณปัสสาวะ ควรออก > 30 ซีซี/ชั่วโมง
หลังทำ
ประเมิน V/S ผู้คลอดทุก 15 นาที ใน 1 ชม.แรก ทุก 30 นาที ใน 1 ชั่วโมงที่สอง หลังจากนั้นประเมินทุก 1 ชม. จนอาการคงที่ ประเมินแผลผ่าตัดดูเลือดซึม ประเมินอาการปวดแผล ให้นอนท่า semi-fowler spinal block ให้นอนราบหลังผ่าตัดอย่างน้อย 8 – 12 ชั่วโมง กระตุ้นการ early ambulate
Forceps Extraction delivery
คือ
เป็นการใช้แทนแรงเบ่งของ
ผู้คลอด
ข้อบ่งชี้
ไม่มีแรงเบ่งจากอาการอ่อนหล้า
มีภาวะแทรกซ้อนหากมีการเบ่งคลอด เช่น โรคหัวใจ PIH /Chronic hypertension
Prolong 2 stage of labor
Abnormal FHS
ศีรษะทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
ใช้คลอดศีรษะทารกท่าก้น
:red_cross: รายที่มีการผิดสัดส่วนของศีรษะทารกกับช่องเชิงกราน (CPD) /เนื้องอกในอุ้งเชิงกราน
ภาวะแทรก
ซ้อน
ผู้คลอด
ฉีกขาดช่องทางคลอด การแยกของกระดูกหัวหน่าวและ sacroiliac
joint ทำให้ปวด การหย่อนของกล้ามเนื้อมดลูก PPH Infection จากการฉีกขาด
ทารก
เลือดออกในสมอง ภาวะ cerebral palsy cephal
hematoma facial palsy , Erb palsy
การพยาบาล
การเตรียมคลอด
จัดท่า Lithotomy สวนปัสสาวะให้กระเพาะปัสสาวะว่าง ให้ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ ยืนยันท่าทารก
การพยาบาลก่อนทำ
อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับแผนการช่วยคลอด เตรียมอุปกรณ์ช่วยคลอด ได้แก่ forcep, สารหล่อลื่น, อุปกรณ์ช่วยเหลือทารก ให้สารน้ าทางหลอดเลือดด า + ยากระตุ้นการหดรัดตัวมดลูก
การพยาบาลขณะทำ
ฟัง FHS ทุก 5 นาที / On EFM ให้ผู้คลอดหยุดเบ่งเมื่อศีรษะทารกมาตุงที่ฝีเย็บและแพทย์กำลังตัดฝีเย็บ หลงจากนั้นกระตุ้นเบ่ง
ตามการหดรัดตัวของมดลูกจนศีรษะคลอดให้หยุดเบ่ง ท าการดูดน้ำคร่ำ เช็ดตา เหมือนการคลอดปกติ
การพยาบาลหลังทำ
ประเมิน V/S , การหดรดตัวของมดลูก, กระเพาะปัสสาวะ และ การฉีกขาดของช่องทางคลอด แนะนำการคลึงมดลูก ไม่กลั้นปัสสาวะ ดูแลการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกต่อ อย่างน้อย 2 ชั่วโมงหลังคลอด
Placenta removal
การล้วงรก (manual removal of placenta) เป็นหัตถการ
สำคัญช่วยผู้คลอดจาการตกเลือดจากปัญหารกค้างได้
ข้อบ่งชี้
ภายหลังทารกคลอดครบ ระยะที่ 3 นานกว่า 30 นาที และเลือดออกไม่เกิน
400 มิลลิลิตร
มีเลือดออกมากกว่า 400 มิลลิลิตร ภายหลังทารกคลอดโดยไม่คำนึงถึง
ระยะเวลาที่รกค้าง
สายสะดือขาดและหดกลับเข้าไปในช่องคลอด โดยไม่สามารถเข้าไป
Clamp จุดที่ขาดได้
:red_cross:ผู้คลอดอยู่ในภาวะช็อค
การพยาบาล
ก่อนทำ
อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับแผนการรักษา จัดท่า Lithotomy เตรียมอุปกรณ์ล้วงรกให้พร้อม ดูแลการได้รับ IV fluid
ขณะทำ
ประเมิน V/S ทุก 5 นาที ประเมิน contraction ปริมาณเลือดที่ออกจากช่องคลอดละฝีเย็บ ดูแลการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
หลังทำ
ประเมิน V/S , contraction , bladder , การฉีกขาดของช่องคลอดและ
ปริมาณเลือด เพื่อเฝ้าระวังการเกิดภาวะ PPH แนะน าการคลึงมดลูก ไม่กลั้นปัสสาวะ ดูแลได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกต่ออย่างน้อย 2 ชม.หลังคลอด
Vacuum Extraction delivery
คือ
การทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
ข้อบ่งชี้
ผู้คลอดไม่มีแรงเบ่งเพียงพอ มดลูกหดรัดตัวไม่ดี Prolong 2 stage of labor ผู้คลอดมีโรคประจำตัว ศีรษะทารกอยู่ในท่าผิดปกติ (OP)
:forbidden:ห้าม
CPD ส่วนนำทารกอยู่สูง ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ macrosomia preterm fetal scalp blood
sampling ทารกมีภาวการณ์แข็งตัวของเลือดผิดปกติ fetal distress
หลักการ
ไม่ทำกรณีส่วนนำทารกอยู่สูงกว่า ischial spine ค่อยๆ ลดความดันลง 0.1 กก./ตร.ซม. ทุก 1 นาที หรือ 0.2 กก./ตร.ซม. ทุก 2 นาที จนถึง 0.6 – 0.8 กก./ตร.ซม. ระยะเวลาการดึงไม่ควรเกิน 30 นาที นานกว่านี้อาจเกิดอันตรายต่อศีรษะทารกได้
ภาวะแทรกซ้อน
PPH Cephalhematoma Caput succedaneum Scalp abrasion/laceration Scalp necrosis
Alopecia
การพยาบาล
ก่อนทำ
อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับการรักษา จัดท่าผู้คลอดท่า Lithotomy เตรียมเครื่องดูดสุญญากาศ ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ + ยากระตุ้นการหดรัดตัวมดลูก
ขณะทำ
ฟัง FHS ทุก 5 นาที / On EFM เมื่อแพทย์วางถ้วยสุญญากาศในตำแหน่งที่เหมาะสมและต่อสายยางเข้าเครื่องดูดเรียบร้อย จะเริ่มลดความดันจนถึง 0.8 กก./ตร.ซม พยาบาลต้องจับเวลาในขณะที่เครื่องลดความดัน ให้ผู้คลอดหยุดเบ่งขณะแพทย์กำลังตัดฝีเย็บ หลังจากนั้นกระตุ้นให้ผู้คลอดเบ่งตามการหดรัดตัวของมดลูกจนกะทั่งศีรษะคลอดจึงหยุดเบ่ง ทำการดูดน้ำคร่ำ เช็ดตา เหมือนการคลอดปกติ ล้มเหลว เตรียมผู้คลอดและอุปกรณ์สำหรับผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องโดยทันที
หลังทำ
แนะนำการสังเกตอาการและอาการแสดงของการตกเลือด และอาการปวดแผลฝีเย็บจากการเกิด hematoma
Breech delivery
วิธีการคลอดท่าก้น
Spontaneous breech delivery
ผู้คลอดออกแรงเบ่งคลอดทารกออกมาเอง ผู้ทำคลอดช่วยพยุงลำตัวทารกตามกลไกธรรมชาติ
Breech assisting delivery (partial breech extraction)
การทำ
คลอดท่าก้นโดยผู้ทำคลอดช่วยดึงทารกออกมา
Total breech extraction
การช่วยคลอดทุกส่วนของทารกท่าก้น โดยการดึงทารกทั้งตัวออกมาทางช่องคลอด
ตั้งแต่ก้นยังอยู่ในระดับ pelvic floor หรือ สูงกว่า
ภาวะแซกซ้อน
ต่อผู้คลอด
Laceration of perineal
Uterine rupture
Dystocia
PPH
Infection
ต่อทารก
Fetal distress
ช้อเคลื่อนหรือกระดูกหัก
การบาดเจ็บของอวัยวะภายในช่องท้อง
เส้นประสาทที่แขนได้รับบาดเจ็บ
อัตราการตายของทารกเพิ่มขึ้นกว่าการคลอดปกติ 3 – 5 เท่า
การพยาบาล
ก่อนทำ
เตรียมอุปกรณ์ในการช่วยคลอดให้พร้อม ได้แก่ ผ้าปราศจากเชื้อสำหรับคล้องตัวทารก
คีมชนิด piper forceps + อุปกรณ์สำหรับผ่าตัดคลอดฉุกเฉินกรณีช่วยคลอดท่าก้น
ล้มเหลว
ขณะทำ
ประเมิน Contraction และกระตุ้นเบ่งเมื่อมดลูกหดรัดตัว
กระตุ้นเบ่งจนก้นคลอด + เตรียมผ้าสะอาดปราศจากเชื้อส าหรับจับตัวทารก
ประเมิน V/S เป็นระยะ
หลังทำ
แนะนำการคลึงมดลูกแก่มารดา ไม่กลั้นปัสสาวะ ติดตามการตรวจร่างกายทารกว่ามีการบาดเจ็บจากการช่วยคลอดหรือไม่ ูแลการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
Version
External
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกจากภายนอก (externalcephalic
version : ECV)
ข้อบ่งชี้
อายุครรภ์มากกว่า 37 สัปดาห์ ครรภ์เดี่ยวที่ทารกอยู่ในท่าก้น/ท่าขวาง ไม่มีภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
ห้าม :no_entry:
ครรภ์แฝด อ้วนมาก มีแผลผ่าตัดที่มดลูก ทารกท่าก้น Abnormal FHS Uteroplacenta insufficiency Fetal anormoly
สตรีตั้งครรภ์มีภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม สตรีมีครรภ์มีภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม
ภาวะแทรกซ้อน
มดลูกแตก ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด รกลอกตัวก่อนกำหนด เลือดทารกรั่วเข้าสู่เลือดมารดา น้ำคร่ำอุดกลั้นเส้นเลือดในปอด
fetal distress Fetal bradycardia คลอดก่อนกำหนด DFIU
การพยาบาล
ก่อนทำ
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์ทราบเกี่ยวกับแผนการรักษา ให้ NPO อย่างน้อย 8 ชม. ก่อนทำ ถ่ายปัสสาวะให้เรียบร้อย และจัดท่านอนหงาย
ดูแลการได้รับการ ultrasound เพื่อยืนยันท่าและส่วนนำทารก + NST ดูแลให้ IV fluid และยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมิน V/S ของสตรีและประเมิน FHS ก่อนทำการหมุนเปลี่ยนท่าเพื่อเป็น baseline
ขณะทำ
ประเมิน FHS ทารกและอาการเจ็บปวดขณะทำการหมุนเปลี่ยนท่าเป็นระยะๆ >> FHS > 120 ครั้ง/นาที สตรีมีอาการเจ็บปวดมากให้หยุด
การหมุนเปลี่ยนท่าทันที
หลังทำ
ประเมิน FHS ต่อไปอีกอย่างน้อย 30 นาที ตรวจ NST เพื่อประเมินภาวะสุขภาพทารกในครรภ์ หากเป็น NR >> ทำ CST ต่อ หากผลเป็น positive พิจารณายุติการตั้งครรภ์ ดูแลให้ได้รับ Rh immunoglobulin (anti-D immune globulin
Internal podalic
:red_flag: หัตถการนี้ค่อนข้างอันตรายต่อมารดาและทารกในครรภ์ปัจจุบันทำน้อยมาก
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกโดยสอดมือผ่านปากมดลูกเข้าไปหมุนภายในโพรงมดลูกในรายที่ปากมดลูกเปิดหมดแล้ว เพื่อเปลี่ยนจากท่าขวางหรือท่าศีรษะเป็นท่าก้น และ
ทำคลอดในท่าก้นต่อไป
ข้อบ่งชี้
การคลอดแฝดคนที่สอง (ท่าขวางหรือท่าศีรษะ) มีปัญหาต้องคลอด่วน เช่น fetal distress สายสะดือย้อย หรือมีเลือดออกมาก
ทารกท่าขวางที่ปากมดลูกเปิดหมดแล้ว
:no_entry:ห้าม
เคยผ่าตัดบริเวณมดลูก ส่วนนำทารกเคลื่อนลงมาต่ำมาก ตกเลือดก่อนคลอด หรือ มีภาวะรกเกาะต่ำ มีอาการและอาการแสดงของภาวะมดลูกแตกคุกคาม
การพยาบาล
ก่อนทำ >> เช่นเดียวกับการหมุนเปลี่ยนท่าภายนอก แต่ ไม่ NPO ผู้คลอด
ขณะทำ >> อยู่เป็นเพื่อน ให้ก าลังใจ + ประเมิน FHS และอาการปวดเป็นระยะ
หลังทำ >>ประเมิน FHS และ V/S ผู้คลอดเป็นระยะๆ ดูแลช่วยเหลือการช่วยคลอดท่าก้นต่อ เช่น การเตรียม piper forceps
ช่วยคลอดศีรษะทารก พร้อมทั้งช่วยเหลือกรณีเกิดภาวะฉุกเฉิน ประเมินภาวะแทรกซ้อนหรือการบาดเจ็บ
Induction of labor
การกระตุ้นให้เจ็บครรภ์คลอด โดยทำให้มดลูกเกิดการหดรัดตัวและหรือทำให้ปากมดลูก
นุ่ม ซึ่งในขณะนั้นยังไม่มีการเจ็บครรภ์คลอดตามธรรมชาติเกิดขึ้น
ข้อบ่งชี้
Postterm pregnancy ,PROMP, reeclampsia, eclampsia,
Gestational hypertension,Chorioamnionitis,Fetal demise,Abruption placenta
Maternal medical conditions,Fetal compromise
:no_entry:
Vasa previa,Placenta previa
Umbilical cord prolapse Previous C/S Transverse fetal lie
Active genital herpes infection
ใช้ Bishop
score
คะแนนเต็ม 13 คะแนน หากได้ 9 คะแนนขึ้นไปโอกาสในการชักนำการคลอดจะสำเร็จมากขึ้น
ในรายที่คะแนนน้อยกว่า 4 คะแนน ถือว่าปากมดลูกไม่มีความพร้อมในการชักนำการคลอด
วิธีการชักนำการคลอด
การใช้ prostaglandin การใช้ Oxytocin Amnitomy Membrane stripping/sweeping Breast stimulation
การพยาบาล
เตรียมยาให้ถูกต้องตามแผนการรักษา อธิบายวัตถุประสงค์การให้ยา ให้ยาแก้ผู้คลอด โดยพิจารณาจากการหดรัดตัวของผู้คลอด ประเมิน Contraction หลังได้รับยา 15 นาที ต่อไปทุก 30 นาที และทุกครั้งก่อน/หลังการปรับหยด 2 – 3 นาที ปรับเพิ่มหยดทุก 15 – 30 นาที โดยเพิ่มครั้งละ 1 – 2 มิลลิยูนิต/นาที ฟัง FHS ทุก 30 นาที
ให้สังเกต Bandl’s ring ความดันโลหิตต่ำ ภาวะสารน้ำเป็นพิษ คลื่นไส้อาเจียน กระสับกระส่าย ระยะหลังคลอด ดูแลการได้รับยาต่อเนื่องอย่างน้อย 2 ชั่วโมง เพื่อป้องกัน PPH
ผิดปกติ
ผิดปกติ Duration > 90 วินาที , Interval < 2 นาที หยุดให้ยาทันที เพิ่มจำนวนหยดของสารน้ำอีกขวด
นอนตะแคงซ้าย ให้ออกซิเจน ฟัง FHS ประเมิน contraction ทุก 5 นาที ประเมิน contraction ทุก 5 นาที
รายงานแพทย์