Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกหัก
โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกหรือแตกร้าว
ข้อเคลื่อน
มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่หรือหลุดออกจากเบ้า
กระดูกเด็กมีลักษณะแตกต่งจากผู้ใหญ่
แผ่นเติบโต(growth Plate)มีความอ่อนแอกว่าเอ็น
เยื่อหุ้มกระดูก(periosteum)มีความแข็งแรงและสามารถสร้างกระดูกได้ดีกระดูกในเด็กจึงติดเร็ว
เยื่อบุโพรงกระดูก(endosteum)สามารถสร้างกระดูกได้มากและเร็ว
ปัญหาด้านการวินิจฉัยกระดูกในเด็กอาจไม่แน่ชัด/เชื่อถือได้ยาก
การบวมบวมของแขน ขาเกิดขึ้นเร็วและหายบวมเร็ว
สถิติกระดูกหักในเด็ก
อายุ
พบมาก 12-15 ปี
อายุต่ำกว่า4ปี พบน้อย
เพศ
พบเพศชายมากกว่าเพศหญิง
สาเหตุพบบ่อย
การหกล้ม
ตกจากที่สูง
อุบัติเหตุบนท้องถนน
ตำแหน่งที่พบบ่อยที่สุด
กระดูกต้นแขนหัก
กระดูกแขนท่อนปลาย
หักข้างซ้ายมากกว่าหักข้างขวา
สาเหตุ
มักได้รับอุบัติเหตุนำมาก่อนมีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง
อาการและอาการแสดง
มีอาการปวดและกดเจ็บ
บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือเกยกัน
รอยจ้ำเขียว มีเลือดซึมจากชั้นในมายังผิวหนัง
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ ซักเกี่ยวกับอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
การตรวจร่างกาย
ลักษณะของกระดูกหัก
ลักษณะของข้อเคลื่อน
การตรวจทางรังสี
การรักษา
การรักษาเด็กภาวะฉุกเฉินคือช่วยชีวิตเด็กก่อนแก้ไขเรื่องทางเดินหายใจ
หลักการรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
ระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนเพิ่มขึ้น
แก้ไขตามปัญหาและพยากรณ์โรคที่เกิดขึ้นกับกระดูก
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้า(fracture of clavile)
เกิดมากสุด โดยเฉพาะเด็กอายึต่ำกว่า 10 ปี
อาการและอาการแสดง
ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
ปวด บวม ข้างที่เป็น
Crepitus คลำได้เสียงกรอบแกรบ
กระดูกต้นแขนหัก(fracture of humerus)
ทารกแรกเกิด
มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่
ในเด็กโต
เกิดจากการล้มแล้วต้นแขน/ข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง จะพบหัวไหล่บวม ช้ำ
กระดูกข้อศอกหัก(Supracondylar fracture)
พบบ่อยในเด็กเพราะพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย
โรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
Volkman's ischemic contracture
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
หัวกระดูกเรเดียสเคลื่อนออกมาจากข้อ radio-humeral ไม่หมด
พบได้บ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 6ปี
กระดูกปลายแขนหัก
พบบ่อยในเด็กหัดเดินไปถึงวัยรุ่น
ตำแหน่งบริเวณปลายล่างๆหรือส่วนล่าง 1/3 ของลำกระดูก
กระดูกต้นขาหัก(fracture of femur)
พบได้ทุกวัย โดยเฉพาะ 2-3ปี
เกิดกับเด็กชายมากกว่า
พบช่วงกลางของกระดูกต้นขา
ภยันตรายต่อข่ายประสาทbrachial plexus จากการคลอด(birth palsy)
สาเหตุ
ข่ายประสาทถูกดึงยึด
การวินิจฉัย
สังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา
ส่วนใหญ่มักมีการฟิ้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่จำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาล
การพยาบาลต้องคำนึงถึงอวัยวะส่วนอื่นๆที่อาจได้รับการบาดเจ็บด้วย
ระบบหายใจ
การสูยเสียเลือด
การบาดเจ็บภายใน
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่ได้รับการบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่งแทงของกระดูก
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ
คลำดูความสัมพันธ์ของอวัยวะ
การเคลื่อนไหวของข้อต่างๆ
การยกขึ้น งอหรือเหยียด
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน
ดึงกระดูก
ชนิดของ Traction ที่ใช้รักษากระดูกหักในเด็ก
Bryant's traction ในเด็กกระดูกต้นขาหัก แรกเกิด-ไม่เกิน2ขวบ
Over Head traction ใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นเเขน
เป็นการเข้าtraction ในลักษณะข้อศอกงอ90องศา
Dunlop's traction
ใช้ในเด็กที่มี Displaced Supracondylar ที่ไม่สามารถดึงให้เข้าที่ได้
ใช้ในรายที่มีอาการบวมมาก
Skin traction
ใช้ในเด็กโตที่มfacture shaft of femur อายุมากกว่า3ขวบ
Russell's traction
อาจมีปัญหาผ้า Sling ที่คล้องใต้ขาไปกดเส้นเลือดและเส้นประสาทบริเวณใต้เข้าได้
ผ่าตัดทำOpen reduction internal fixation
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะเเทรกซ้อนจากการถูกจำกัดการเคลื่อนไหว
ป้องกันและลดข้อติดแข็งและกล้ามเนื้อลีบ
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ ด้วยการเปลี่ยนท่าที่เหมาะสม
ลดอาการท้องผูกด้วยการกระตุ้นให้เด็กมีการเคลื่อนไหว
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งถึงภาวะเเทรกว้อน
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูกเนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
กิจกรรมการพยาบาล
ทำความสะอาดแผลก่อนการเข้าเฝือก
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งบอกถึงการติดเชื้อ
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่ช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
การพยาบาลเพื่อบรรเทาปวด
ประเมินระดับอาการปวด
จัดท่าให้ผู้ป่วยในท่าที่ถูกต้อง
ให้ยาแก้ปวดแผนการรักษา
การพยาบาลเพื่อให้คำแนะนำการปฏิบัตติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้านอย่างปลอดภัย
การดูแลแผลผ่าตัด
ห้ามเอาเฝือกออกเอง
ควรสังเกตความผิดปกติ
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
โรคเเทรกซอนที่ทำให้แขน มือ นิ้วหงิกงอ
Volmann's ischemiccontracture
สาเหตุ
เกิดจากกล้าม้นื้อบริเวณforearm ขาดเลือดไปเลี้ยงหรือมีเลือดไปเลี้ยงน้อย
ระยะของการเกิด
ระยะเริ่มเป็น มีบวม เจ็บปวด
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อ บวมตึงแข็ง มีสีคล้ำ
ระยะกล้ามเนื้อหด การหดตัวของกล้ามเนื้อ Pronatorและflexor ของแขน มือและนิ้ว
วิธีป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็ว
อย่างอข้อศอกมากเกินไปขณะใส่เฝือก
ใช้slabใส่ด้านหลังของแขนแล้วพันด้วยผ้าธรมดา
โรคคอเอียงแต่กำเนิด
เป็นลักษณะที่ศีรษะเอียงจากแนวกึ่งกลางไปด้านใดด้านหนึ่ง
อาการ
มักคลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อขางคอด้านที่เอียงและก้อนจะค่อยๆยุบลง
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ลักษณะของผู้ป่วย ซักประวัติ
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่หดสั้น ได้ผลดีเมื่อเด็กอายุน้อยกว่า1ขวบ
การยืดโดยวิธีดัด(passive stretch)
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง(active streth)
การใช้อุปกรณ์ช่วยพยุง(orthosis)
การผ่าตัด
ภาวะแรกซ้อน
พบมากคือ polydactyly preaxial เป็น hallux varus
อาจก่อให้เกิดความเจ็บปวดมาก
กระดูกสันหลังคด(Scoliosis)
การมีกระดูกสันหลังคดไปด้านข้างร่วมกับมีการหมุนของปล้องกระดูกสันหลัง เกิดความพิการทางรูปร่าง
อาการ
ซีด
สมรรถภาพทางกายสื่อม
มีความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจและหัวใจ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ:การผ่าตัด ความพิการกระดูกสันหลัง
การตรวจร่างกาย
สังเกตความพิการ
ส่วนสูง น้ำหนักตัว แนวลำตัว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษอื่นๆ
อาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักสงข้างไม่เท่ากัน
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด หายใจตื้น
พบการเคลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลำตัว ความจุทรวงอกสองข้างไม่สมมาตรกัน
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นแหละหนา ส่วนด้านโค้งออกจะฝ่อลีบและบาง
การรักษา
ป้องกันไม่ให้เป็นโรคมากขึ้น
แก้ไขหรือลดความพิการ
ป้องกันและลดความปวด
ปรับปรุงสมรรถภาพของปอดและหัวใจ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การรักษาที่ขึ้นกับอายุ ความโค้งและความก้าวหน้าของโรค
แบบอนุรักษ์นิยม(Conservation)
การผ่าตัด
การพยาบาลบุคคลวัยเด็กที่มีภาวะกระดูกสันหลังคด
กระดูกสันหลังคด โรคที่ผู้ป่วยมีลักษณะของกระดูกสันหลังผิดรูป เริ่มโค้งงอไปด้านข้างหากวัดมุมโค้งหรือมุมที่กระดูกสันหลังคดจะมีมากกว่า 10 องศา
การแบ่งชนิดตามสาเหตุ
ชนิดที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในเนื้อกระดูกสันหลัง
สาเหตุ
ความผิดปกติของท่าทาง
ขาสองข้างยาวไม่เท่ากัน
มีการหดรั้งของข้อสะโพก
หมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท
ชนิดที่มีการเปลี่ยนแปลงของกระดูกสันหลัง
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุ
ทราบสาเหตุ
โรคกระดูกสันหลังคดจากการผิดปกติของกล้ามเนื้อระบบประสาท
การตรวจวินิจฉัย
การซักประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติการผ่าตัด
ข้อมูลความพิการของกระดูกสันหลัง
ประวัติท้าวแสนปมในครอบครัว
การตรวจร่างกาย
การสังเกตความพิการ
แนวลำตัว ความสูง น้ำหนักตัว
ทำ Adam's forwrd bending test
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษอื่นๆ
การถ่ายภาพเอกซเรย์ท่ายืนตรงและด้านข้างตั้งแต่กระดูกทรวงอกถึงกระดูกก้นกบ
อาการและอาการแสดง
ความพิการของกระดูกสันหลังพบกระดูกหลังโค้งไปด้านข้างอาจเกิดโค้งทดแทน เพื่อรักษาความสมดุล
ก้มไปด้านหน้าจะมองเห็นตะโหงก(Hump)จากการหมุนซี่โครง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด หายใจตื้น
การรักษา
การรักษาแบบไม่ผ่าตัดเพื่อที่จะหยุดหรือชะลอ เป็นการใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว
การักษาแบบผ่าตัด
หาพบว่ามีมุมการคดของกระดูกสันหลังเกิด 45-50องศา มีการเอียงของลำตัวและมีโอกาสคดเพิ่มขึ้นอย่างนวดเร็ว
แนวทางการพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะสันหลังคด
แนะนำการปฏิบัติตัวก่อนหลังการผ่าตัด
ดูแลความไม่สุขสบายจากวามปวดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลัง
สังเกตประเมินความปวด
ชนิด
ตำแหน่ง
ความรุนแรง
ระยะเวลาปวด
ป้องกันการติดเชื้อที่แผลและเกิดแลกดทับ
ประเมินอาการบวม แดง ชา น้ำเหลืองซึม แผลเปิดหรือไม่