Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากล้ามเนื้อและกระดูก, Club foot, ข้อเคลื่อน - Coggle…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากล้ามเนื้อและกระดูก
Congenital muscular torticollis
อาการแสดง
พบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียงและก้อนจะค่อยๆยุบลงไป
ศีรษะเอียงจากแนวกึ่งกลางไปด้านใดด้านหนึ่งจากกล้ามเนื้อด้านข้างคอ
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอ
ได้ผลดีกับเด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี
การดัด : นอนหงายจัดหูด้านตรงข้ามกับที่เอียงสัมผัสกับไหล่ข้างเดียวกัน
ให้เด็กหันศีรษะเอง : หาวัตถุมาล่อให้มองตาม
ใช้อุปกรณ์พยุง
การผ่าตัด
เหมาะกับเด็กอายุ 1-4 ปี
Bipolar release ตัดปลายเอ็นเกาะกล้ามเนื้อคอทั้งสองปลาย
หลังผ่าตัดต้องใช้อุปกรณ์พยุงคอป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
สาเหตุ
เนื้อเยื่อบริเวณคอถูกกดขณะคลอด
ทารกอยู่ในท่าที่ไม่เหมาะสมในครรภ์
scoliosis
อาการและอาการแสดง
สะบักไม่อยู่ระนาบเดียวกันคือไหล่สองข้างไม่เท่ากัน
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด มักหายใจตื้น
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน
มีอาการปวดเมื่อหลังคดมาก
การพยาบาล
แนะนำการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
ดูแลความไม่สุขสบายจากความปวดหลังผ่าตัดโดยสังเกตและประเมินความปวด
ป้องกันการติดเชื้อและแผลกดทับ โดยประเมินผิวหนังทั่วไปและบริเวณผ่าตัดว่ามีอาการบวม แดง ชา แผลเปิดหรือไม่
การรักษา
ไม่ผ่าตัด
ใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว (Brace)เพื่อให้มุมที่วัดได้ตอนเด็กโตเต็มวัยน้อยกว่า 50 องศา
ผ่าตัด
ใช้โลหะดามกระดูกสันหลังจัดกระดูกสันหลังให้เข้าที่และเชื่อมข้อกระดูกสันหลังให้ตรง
ข้อบ่งชี้ : มุมการคดเกิน 45 -50 องศา มีการเอียงของลำตัว โอกาสคดเพิ่มอย่างรวดเร็ว
กระดูกสันหลังผิดรูปโค้งงอไปทางด้านข้าง มุมส่วนโค้งมากกว่า10องศา
Bone and Joint infection
การติดเชื้อในกระดูกและข้อ
Difinite
ตรวจพบเชื้อโรคจากกระดูกหรือเนื้อเยื่อติดกับกระดูก
Likely
ไม่พบเชื้อจากการเพาะเชื้อ
Probable
ติดเชื้อในเลือดร่วมกับลักษณะทางคลินิกและภาพรังสี
การวินิจฉัย
อุณหภูมิสูงกว่้า 38.3องศาเซลเซียส
มีอาการปวดข้อ
ปวดมากเมื่อขยับข้อ
ข้อบวม
มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาธิสภาพอื่นๆ
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
Ricket
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญวิตามิน D
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียม
โรคไตบางชนิดที่ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟต
ความผิดปกติของการจับเกาะเกลือแร่
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง ขาโก่ง กระดูกสันหลังคด ท่าเดินคล้ายเป็ด
การป้องกัน
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
ให้วิตามินD 200 หน่วยต่อวันต่อน้ำหนักตัวในเด้กคลอดก่อนกำหนด
การรับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม
หลีกเลี่ยงยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม
Osteosarcoma
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณก้อนเนื้องอก น้ำหนักลด การเคลื่อนไหวผิดปกติ
การรักษา
การผ่าตัด
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ระยะเวลาการมีก้อนเนื้องอก
อาการปวด การเคลื่อนไหว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
MRI,CT เพื่อดูการแพร่กระจายของโรคหาระดับ ALP LDH มีค่าสูงขึ้น
การตรวจร่างกาย
น้ำหนัก
ตำแหน่งของก้อน
ต่อมน้ำเหลือง
Osteomyelitis
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย เชื้อราเข้าสู่กระดูกจาการทิ่มแทงจากภายนอก
การวินิจฉัย
ประวัติ
มีอาการปวด ไม่ขยับแขนขาข้างที่เป็น
อาการไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
การตรวจร่างกาย
มีการปวด บวม แดง ร้อน เฉพาะที่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผล CBC พบ Leucocytosis
ESR CRP มีค่าสูง
ผล Gram stainและ culture พบเชื้อ
การตรวจทางรังสี
Plain flim พบเนื้อเยื่อส่วนลึกบวมโดยเฉพาะ metaphysis
Bone scan ได้ผลบวก บอกตำแหน่งได้เฉพาะ
MRI พบSoft tissue abcess
อาการแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
ทำลาย physeal plate ยับยั้งการเจริญของกระดูก
Gastroschisis
ช่องแคบยาวที่ผนังท้องภายหลังที่ผนังช่องท้องสมบูรณ์แล้วจะเกิดการแตกของ hermia of umbilical cord ก่อนทารกคลอด
การพยาบาล
decompression stomach
ให้ Vitamin K 1 mg intramuscular
เช็ดทำความสะอาด ลำไส้ส่วนที่สกปรกป้องกันการติดเชื้อ
การรักษาความอบอุ่น
การวินิจฉัย
เมื่อคลอดจะพบถุงสีขาวขุ่นบางที่หน้าท้อง สามารถมองเห็นขดลำไส้หรือตับ
ถุงอาจมี wharton's jelly บรรจุ สายสะดือติดอยู่กับถุง
Septic arthritis
เชื้อเข้าสู่ข้อจาการทิ่มแทงเข้าในข้อ
การรักษา
ยาปฏิชีวนะ
ผ่าตัด Arthrotomy และ drainageเพื่อระบายหนอง
ภาวะแทรกซ้อน
การเจริญเติบโตของกระดูกและการทำหน้าที่เสียไป
ข้อเคลื่อน (Dislocation)
ข้อถูกทำลาย (joint destruction)
หัวกระดูกข้อสะโพกตายจาการขาดเลือด
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก : มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง
เจาะดูดน้ำในข้อ (joint aspiration) มาย้อยGram stain ผล CBC พบ ESR CRP สูงขึ้นเล็กน้อย
Plain flim พบช่องระหว่างข้อกว้าง
Bone scan MRI บอกถึงการติดเชื้อกระดูก
Flat feet
อาการ
ความรุนแรงขึ้นอยู่กับความแบนราบ
อาจมีตาปลาหรือฝ่าเท้าหนาผิดปกติ
ปวดฝ่าเท้าถ้ารุนแรงจะปวดน่อง เข่า สะโพก
สาเหตุ
พันธุกรรม
การเดินบิดเท้าเข้าด้านใน
เอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
ใส่รองงเท้าที่กว้างและพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตนเอง
อาจใช้ Laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
เมื่ออายุ 3-10 ปีแล้วยังไม่มีโค้งใต้ฝ่าเท้า
Omphalocele
การรักษา
1.Conservative
ใช้สารละลายฆ่าเชื้อทาที่ผนังของถุง
เหมาะสำหรับรายที่มีOmphaloceleขนาดใหญ่
ผลแทรกซ้อน : เกิดการดูดซึมสารที่ใช้ทาในปริมาณมากจนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
2.Operative
การเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย
การปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นขั้นตอน
ผนังหน้าท้องผิดรูปโดยที่มีการสร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ทำให้บางส่วนขาดหายไป
ลักษณะทางคลินิก
กลางท้องมีถุงOmphaloceleติดกับผิวหนัง
ถุงมีผนังบางมองเห็นอวัยวะภายใน
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
วัณโรคกระดูกและข้อ
พบบ่อย : ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium Tuberculosis
อาการและอาการแสดง
เริ่มแสดงอาการหลังติดเชื้อ 1-3 ปี
กระดูกจะบางลงหรือแตกนอกกระดูก
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
ผ่าตัดระบายหนอง
การตรวจชิ้นเนื้อ
อาการแทรกซ้อน
กระดูกสันหลังค่อมกดประสาทไขสันหลังจนอ่อนแรง
ข้อเสื่อม ข้อยึดติด พิการ
กระดูกหักและข้อเคลื่อน
กระดูกหัก
อาการและอาการแสดง
ปวด บวม กดเจ็บ อวัยวะผิดรูป
โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกจากกัน
สาเหตุ
กล้ามเนื้อที่เกาะกระดูกถูกกระชากแรงเกินไป
ได้รับอุบัติเหตุเกิดแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง
พยาธิสภาพของโรคที่ทำให้กระดูกหักง่าย
กระดูกที่พบบ่อย
1.กระดูกไหปลาร้า
2.กระดูกต้นแขน
3.กระดูกข้อศอก
4.การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
5.กระดูกปลายแขน
6.กระดูกต้นขา
หลักการรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
ระวังไม่ให้ได้รับบาดเจ็บมากขึ้น
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์ของโรค
ระยะแรกมุ่งลดการปวด จัดให้กระดูกที่หักอยู่นิ่งโดยใช้เฝือกดาม ไม้ดาม
จัดกระดูกให้เข้าที่และดามกระดูกให้มีแนวกระดูก
การพยาบาล
2.เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
1.ประเมินลักษณะการบาดเจ็บโดยการสังเกต คลำ ดูความสัมพันธ์ของอวัยวะ การเคลื่อนไหวของข้อ การยกขึ้น งอหรือเหยียด
3.จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน
ดึงกระดูก (Traction)
ผ่าตัดทำ ORIF
การประเมินสภาพ
ซักประวัติเกี่ยวกับการเกิดอุบัติเหตุ
การตรวจร่างกาย
ลักษณะของกระดูกหัก : มีบาดแผลหรือไม่มี บาดแผลมีกระดูกโผล่มาหรือไม่
ลักษณะของข้อเคลื่อน : ข้อเคลื่อนออกจากกันโดยตลอดและข้อเคลื่อนออกจากกันเพียงเล็กน้อยโดยมีบางส่วนสัมผัสกันอยู่
การตรวจพบทางรัสี
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
Volkmann's ischemic contracture
สาเหตุ : กล้ามเนื้อบริเวณ Forearm ขาดเลือดไปเลี้ยงเนื่องจากเส้นเลือดแดงและเส้นเลือดดำถูกกด
การป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุดขณะที่หักเกิดขึ้นใหม่ๆ
อย่างอข้อศอกมากเกินไปขณะที่ใส่เฝือกจะงอได้มากแค่ไหนควรใช้การจับชีพจรเป็นหลัก ต้องงอพอที่จะจับชีพจรได้เสมอ
ใช้ Slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพันด้วยผ้าพันธรรมดา การใช้ Slab จะทำให้เฝือกขยายตัวได้บ้าง ยังไม่ควรใส่ Circular cast
Club foot
การรักษา
การผ่าตัด
ผ่าตัดเนื้อเยื่อSubtatar joint และยึดเอ็นที่ตึง
ผ่าตัดกระดูกให้รูปร่างใกล้เคียงปกติ
ผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูกทำให้Subtatar joint และ midtarsal joint
การดัดและใส่เฝือก ได้ผลดีกรณีที่เท้าไม่แข็งมาก
สาเหตุ
อาจเกิดจากยีนส์และปัจจัยเสริมอื่น
รูปร่างของเท้าที่ข้อเท้าจิกลง สันเท้าบิดเข้าใน กลางเท้าและเท้าด้านในบิดงุ้มเข้าใน
joint capsule และ Ligament หดสั้นแข็ง
Tendon และ Muscle ข้างที่มีเท้าปุกเล็กกว่าปกติ
Nerve และ Vessel เล็กกว่าปกติ
ข้อเคลื่อน
ข้อเคลื่อนหลุดออกจากเบ้า