Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดเฉียบพลัน, ----------------------------------------------, img-1_0,…
การคลอดเฉียบพลัน
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารก
-
-
-
-
-
-
อาจมีความผิดปกติของกล้ามเนื้อแขนถูกดึงมากเกินไป ทารกไม่สามารถยกมือได้ แขนข้างที่เป็นจะบิดไปติดกับลำตัว ฝามือหันไปทางด้านหลัง กางแขนออกไม่ได้ ภาวะนี้เรียกว่า Erb’palsy
-
-
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
-
-
ผู้คลอดครรภ์หลังเนื้อเยื่อต่างๆมีการยืดขยายมาก จึงทำให้ส่วนต่างๆ ได้แก่ คอมดลูก พื้น เชิงกรานช่องคลอดและฝีเย็บหย่อนตัว
-
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก และกล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกติ โดยเกิดขึ้นเองหรือจากการให้ยาเร่งคลอดมากผิดปกติ
-
-
-
ภาวะแทรกซ้อนต่อมารดา
-
-
-
-
-
-
เนื้อเยื่อบริเวณช่องทางคลอดเกิดการฉีกขาด ได้แก่ ปากมดลูก ช่องคลอด ฝีเย็บ ลักษณะของ แผลเป็นแบบกะรุ่งกะริ่ง
การวินิจฉัย
-
อัตราการเปิดขยายของปากมดลูก เปิดมากกว่า 5 เซนติเมตร/ชั่วโมง ในครรภ์แรก และเปิด มากกว่า 10 เซนติเมตร/ชั่วโมง ในครรภ์หลัง
มีการหดรัดตัวของมดลูกถี่และรุนแรง มีการหดรัดตัวทุก 2 นาทีหรือบ่อยกว่านั้นและ ระยะเวลาของการหดรัดตัวของมดลูกนานมากกว่า 90 วินาที หรือไม่มีการคลายตัวในระยะที่ควรเป็นระยะพัก
-
การพยาบาล
-
ระยะหลังคลอดให้การดูแลอย่างใกล้ชิด ในกรณีที่มีการฉีกขาดของช่องทางคลอด และมดลูกหด รัดตัวไม่ดี เพื่อปูองกันการตกเลือดหลังคลอด
มารดาที่มีประวัติการคลอดเร็ว ต้องระมัดระวังในการให้การพยาบาล เพื่อการป้องกันการคลอด เฉียบพลัน โดยการประเมินความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด ดังนี้
-
พิจารณาย้ายมารดาเข้าห้องคลอด ในมารดาที่มีประวัติการคลอดเร็วควรย้ายเข้าห้อง คลอดเมื่อปากมดลูกเปิด 5 เซนติเมตร เพื่อเตรียมการช่วยคลอดโดยเร็ว
ประเมินและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูก และฟังเสียงหัวใจของทารกในครรภ์ ทุก 30 นาที เพื่อประเมินสภาพของมารดาและทารกในครรภ์
แนะนำการรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ และดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
-
ตรวจภายในพบปากมดลูกมีการเปิดขยายเร็ว ครรภ์แรกปากมดลูกเปิด 5 เซนติเมตร/ชั่วโมงครรภ์หลังปากมดลูกเปิด 10 เซนติเมตร หรือมากกว่า 10 เซนติเมตร/ชั่วโมง
-
การรักษา
การผ่าตัดคลอด ทำในรายที่มีภาวะแทรกซ้อนจากภาวะมดลูกแตก (uterine rupture) หรือ น้ำคร่ำอุดตันในกระแสเลือดของผู้คลอด (amniotic fluid embolism)
การให้ยา รายที่ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ควรหยุดให้และดูแลอย่างใกล้ชิด อาจให้ยาช่วยยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก รายที่มีการคลอดเฉียบพลันภายหลังคลอด
-
ความหมาย
การคลอดเฉียบพลัน (Precipitate labor) หมายถึง การคลอดที่เกิดขึ้นเร็วผิดปกติ ใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 3 ชั่วโมง หรือใช้เวลาทั้งหมดในการคลอดประมาณ 2-4 ชั่วโมง และมีการเปิดขยายของปากมดลูก ในระยะปากมดลูกขยายเร็ว 5 เซนติเมตร/ชั่วโมง ในผู้คลอดครรภ์แรก (1 เซนติเมตร ทุก 12 นาที) และ มากกว่า 10 เซนติเมตร/ชั่วโมงในผู้คลอดครรภ์หลัง (1 เซนติเมตร ทุก 6 นาที) ซึ่งเป็นผลจากแรงต้านทานของ เนื้อเยื่อที่หนทางคลอดไม่ดี ความผิดปกติของมดลูกที่แรงมาก
-
-
-
-
-
-