Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดเฉียบพลัน Precipitate labor, นายชลธร บุญเฉลิม รหัสนศ 601001029…
การคลอดเฉียบพลัน Precipitate labor
ความหมาย
การคลอดที่เกิดขึ้นเร็วผิดปกติ ใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 3 ชั่วโมง หรือ ใช้เวลาทั้งหมดในการคลอดประมาณ 2-4 ชั่วโมง
สาเหตุ
ทารกตัวเล็กหรืออายุครรภ์น้อยกว่ากำหนด
ผู้คลอดที่ไวต่อการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ผู้คลอดไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดจากการคลอดหรือไม่รู้สึกอยากเบ่ง
เคยมีประวัติการคลอดเฉียบพลัน
ผู้คลอดที่มีเชิงกรานกว้าง
ผู้คลอดครรภ์หลัง เนื้อเยื่อมีการยืดขยายมาก
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อหน้าท้องผิดปกติ
แรงต้านทานของเนื้อเยื่อที่ช่องคลอดไม่ดี
มารดาผ่านการคลอดหลายครั้ง
ความต้านทานของคอมดลูก พื้นที่เชิงกราน ช่องคลอด ฝีเย็บมีน้อย ช่องเชิงกรานกว้าง
อาการและอาการแสดง
มดลูกมีการหดรัดตัวถี่และรุนแรง มากกว่า 5 ครั้งใน 10 นาที
ตรวจภายในพบปากมดลูกเปิดขยายเร็ว
ครรภ์แรก
ปากมดลูกเปิด 5 cm/hr
ครรภ์หลัง
ปากมดลูกเปิด 10 cm หรือ มากกว่า 10 cm/hr
มีอาการเจ็บครรภ์เป็นอย่างมาก
การวินิจฉัย
ปาดมดลูกถ่างขยายเร็ว ไม่สัมพันธ์กับระยะเวลาคลอด
ระยะเวลาในการเจ็บครรภ์และคลอด น้อยกว่า 3 ชั่วโมง
ผู้คลอดอยากเบ่งในขณะที่ปากมดลูกเปิดไม่หมด
ครรภ์แรก ปากมดลูกเปิดมากกว่า 5 cm/hr
ครรภ์หลัง ปากมดลูกเปิดมากกว่า 10 cm/hr
มดลูกหดรัดตัวถี่และรุนแรง หดรัดตัวทุก 2 นาที หรือมากกว่านั้น ระยะเวลาของการหดรัดตัวของมดลูกนานกว่า 90 วินาที
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารก
สายสะดือขาดจากสายสะดือสั้นหรือรกยังไม่ลอกตัว
เลือดออกในสมอง จากศีรษะทารกกระทบกับแรงต้านของพื้นเชิงกราน ช่องคลอดและฝีเย็บ
อัตราตายของทารกเพิ่มมากขึ้น
เกิดอัมพาตของแขนและขาจากการถูกกระทบกระเทือน
ขาดออกซิเจน
ศีรษะทารกได้รับอันตรายจากการรับเด็กไม่ทัน
อาจเกิดการติดเชื้อเนื่องจากไม่ได้เตรียมทำความสะอาดก่อนคลอด
รกลอดตัวก่อนกำหนด
ภาวะแทรกซ้อนต่อมารดา
มีการติดเชื้อที่แผลฉีกขาด
เนื้อเยื่อบริเวณช่องทางคลอดเกิดการฉีกขาด
ปากมดลูก
ช่องคลอด
ฝีเย็บ
ลักษณะแผลเป็นแบบกะรุ่งกะริ่ง
ตกเลือดคลอด
Postpartum hemorrhage
แรงต้านทานของช่องทางคลอดมีมาก
ปากมดลูกแข็ง ไม่เปิด
กล้ามเนื้อช่องทองคลอดมีความยืดหยุ่นน้อย
มีโอกาสที่จะฉีกขาดง่าย
เกิดภาวะน้ำคร่ำอุดตัน
แรงต้านทานของช่องทางคลอดมีน้อย
ปากมดลูกบาง ถ่างขยายได้ง่าย
กล้ามเนื้อช่องทางคลอดมีความยืดหยุ่นดี
ไม่เกิดอันตรายต่อมารดา
มดลูกแตกจากมดลูกหดรัดตัวรุนแรง
เกิดการคั่งของเลือดใต้ชั้นผิวหนังที่ฉีกขาด
มดลูกปลิ้น
การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย
การตรวจภายใน
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ ร่วมกับ Monitor EFM
ภาวะจิตสังคม
ประเมินความวิตกกังวลและความหวาดกลัว
การซักประวัติ
ประวัติการคลอดเฉียบพลัน
การคลอดเร็วในครรภ์ก่อน
ความไวต่อการเร่งคลอด
ลักษณะอาการเจ็บครรภ์
การรักษา
การให้ยา
ให้ยาช่วยยับยั้งการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก
Ritrodin
Magnesium sulfate
ให้ยา Methergin หลังคลอดเพื่อป้องกันการตกเลือด
ให้ยา Antibiotic เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
หากกำลังให้ Oxytocin ให้หยุดทันที
ดูแลตามอาการ ถ้าคลอดเฉียบพลันให้ช่วยคลอด
การผ่าตัดคลอด
Pt. Uterine rupture
Pt. Amniotic fluid embolism
การพยาบาล
มารดาที่มีประวัติการคลอดเร็ว
ประเมิน Dilatation และ Effecment เมื่อมารดาอยากเบ่ง เพื่อประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
พิจารณาย้ายมารดาเข้าห้องคลอด ในมารดาที่มีประวัติการคลอดเร็ว ควรย้ายเข้าห้องคลอดเมื่อปากมดลูกเปิด 5 cm เพื่อเตรียมการช่วยคลอดโดยเร็ว
ประเมินและบันทึก Uterine contraction ฟังเสียง FHS ทุก 30 นาที เพื่อประเมินสภาพของมารดาและทารกในครรภ์
การดูแลตามอาการ
กระตุ้นให้มารดาใช้เทคนิคการหายใจแบบตื้นๆ เร็วๆ เบาๆ เข้าออกทางปากและจมูก เพื่อควบคุมไม่ให้มารดาเบ่งเร็ว
ใช้ผ้าสะอาดกดบริเวณฝีเย็บพร้อมทั้งใช้มืออีกข้างกดศีรษะทารกให้ก้มลงก่อนที่ศีรษะทารกจะคลอด เพื่อป้องกันการฉีกขาดของฝืเย็บและอวัยวะสืบพันธู์ภายนอก
หากมารดาไม่สามารถหยุดแบ่งและศีรษะทารกคลอดออกมาแล้ว ให้กางขามารดาออก เพื่อป้องกันศีรษะทารกถูกหนีบ
จับให้ทารกนอนศีรษะต่ำ ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่งและดูดน้ำคร่ำในปากและจมูกทารกออก เพื่อป้องกันทารกสำลักน้ำคร่ำ
ข้อวินิจฉัยทางหารพยาบาล
ทารกอาจได้รับอันตรายจากการคลอดเฉียบพลัน
เจ็บครรภ์มาก เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวแรงและถี่มาก
ช่องทางคลอดอ่อนมีโอกาสฉีกขาดมากผิดปกติ เนื่องจากการคลอดเฉียบพลัน
อาจเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดจากการคลอดเฉียบพลัน
วิตกกังวล/กลัว อันตรายที่จะเกิดขึ้น เนื่องจากการคลอดเฉียบพลัน
นายชลธร บุญเฉลิม รหัสนศ 601001029 ชั้นปีที่ 3/1