Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 2 ระบบบริการสาธารณสุขของประเทศไทย, นางสาวอันนิกา จันทร์โท…
หน่วยที่ 2 ระบบบริการสาธารณสุขของประเทศไทย
กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข มีอำนาจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ อนามัย การป้องกันควบคุมและรักษาโรคภัย การฟื้นฟู สมรรถภาพของประชาชน และราชการอื่นตามที่กฎหมาย ก าหนด ให้เป็นอ านาจหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุข หรือส่วน ราชการที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุข
ภารกิจสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
การกำหนดนโยบายสาธารณสุขของประเทศ
การกา หนดแผนพัฒนาสาธารณสุขของประเทศ
การจัดสรรงบประมาณด้านการสาธารณสุขของประเทศ
จัดสรรกา ลังคนด้านสาธารณสุข
การควบคุมกำกับงานด้านสาธารณสุขของประเทศ
ระบบบริการสาธารณสุข
ระบบบริการสุขภาพ: ระดับ / ระบบส่งต่อ•แบ่งเป็น 5 ระดับ
การจัดบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ (Primary care Level หรือ Primary medical care: PMC)
การจัดบริการสุขภาพในระดับทุติยภูมิ (Secondary Cure Level nio Secondary Medical Care: SMC)
การบริการสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care: PHC)
การดูแลสุขภาพด้วยตนเองในระดับครอบครัว (Self care level)
หลักเกณฑ์การพิจารณาระดับปฐมภูมิ
• พันธกิจในการดูแลด้านการรักษาผู้ป่วยนอก จัดบริการการแพทย์แผนไทย กายภาพบ าบัด ฟื้นฟูสภาพ เยี่ยมบ้าน ส่งเสริมสุขภาพ คัดกรองปัจจัยเสี่ยง รณรงค์แก้ไขพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ร่วมกับชุมชน อสม. และ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการควบคุมโรค แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม และ คุ้มครองผู้บริโภค
• คัดกรองโรคเพื่อการส่งต่อระดับสูง
• มีเตียงสังเกตอาการ ไม่มีผู้ป่วยใน
• บุคลากร
• แพทย์ทั่วไป/แพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว ดูแลประชาชน ๑:๑๐,๐๐๐ คน
• พยาบาลวิชาชีพ ๑ : ๕,๐๐๐ • จนท.สธ. ๑:๑,๒๕๐
การป้องกันโรค แบ่งเป็น 3 ระดับ
การป้องกันระดับปฐมภูมิ
เกิดขึ้นตั้งแต่ยังไม่เกิดโรค ดังนั้นผล ที่ได้คือจ านวนผู้ป่วยรายใหม่ลดลงกว่าเดิม (หรือ ลดอุบัตกิาตัวอย่างได้แก่ การให้วัคซีนแก่เด็กซึ่งยังไม่ป่วย ท าให้มีภูมิคุ้มกัน โรค อัตราป่วยด้วยโรคที่มีวัคซีนที่ดีก็จะน้อยลง การให้สุข ศึกษา ให้ความรู้ คำแนะนำการจัดอาหารกลางวัน นร. นโยบายนมโรงเรียนฯลฯรณ์)
การป้องกันโรคระดับทุติยภูมิ
เป็นการตรวจวินิจฉัยให้ทราบต้งัแต่ในระยะเกิดโรค แล้วแต่ยังไม่มีอาการ ท้ังนีเ้พื่อให้การรักษาก่อนที่การด าเนินโรคจะถึงขั้นรุนแรง เกนิกว่าทจี่ะแก้ไขได้ • ตัวอย่างเช่น การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (Pap Smear) ท าให้ทราบว่าปาก มดลูกเริ่มผิดปกติระยะเริ่มแรก สามารถให้การรักษาโดยการตัดปากมดลูกออก ท า ให้ไม่เกดิการดา เนินโรคทรี่้ายแรงหรือภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ
การป้องกันระดับตติยภูมิ
เป็นการรักษาและฟื้นฟูสภาพ ผู้ป่วย เป็นการลดการตายหรือลดความพิการที่เกิดจากโรค นั่นเอง
ระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย
ประกันสังคม
เป็นหลักประกันสุขภาพที่จัดให้ลูกจ้างภาคเอกชน ซึ่งเงินสมทบมาจาก รัฐ นายจ้าง และลูกจ้าง ประกอบด้วย
•กองทุนเงินทดแทน และกองเงินประกันสังคม
สวัสดิการข้าราชการ
ข้าราชการ และผู้ที่เกษียณอายุแล้ว พร้อมผู้อยู่ในความอุปถัมภ์ (Dependents) อันได้แก่บิดา มารดา คู่สมรส และบุตร ไม่เกิน 3 คน(โดย เป็นบุตรที่อายุต ่ากว่า 20 ปีบริบูรณ์)
บุตรบุญธรรมไม่สามารถใช้สิทธิ จ่ายตรงได้
• ผู้มีสิทธิจะได้รับสวัสดิการรักษาพยาบาลที่ครอบคลุมทุกอย่าง (Comprehensive) • ระบบเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลจากตันสังกดั/ ใบส่งตัว • โครงการเบิกจ่ายตรง
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
เป็นรัฐสวัสดิการที่จัดให้แก่ประชาชนไทยกลุ่มอื่นๆที่ เหลือ ซึ่งเกิดจากการรวมระบบประกันสุขภาพที่มีอยู่ใน ขณะนั้นซึ่งได้แก่ ระบบสวัสดิการผู้ที่ควรช่วยเหลือ เกื้อกูล ระบบบัตรประกันสุขภาพ และผู้ที่ไม่มี หลักประกันใดๆ
การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า หมายถึง การ สร้างหลักประกันให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ สาธารณสุขที่มีมาตรฐานได้ตามความจ าเป็น โดยถือว่า เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน ตามที่รัฐธรรมนูญ บัญญัติไว้
ปัญหาของระบบบริการสาธารณสุข/ แนวทางแก้ไข
ระบบบริการสาธารณสุขในปัจจุบันและปัญหา
บริการที่จำเป็นสำหรับปัญหาสขุภาพแนวใหม่ยังไมเ่พียงพอ
ความเหลื่อมล้ำของ 3 กองทุน
ขาดความเป็นธรรมในการ กระจายบคุลากร
ศักยภาพของบุคลากรยังมีจากัด
จำนวนบคุลากรไมเ่พียงพอ ลาออก เนื่องจากคา่ตอบแทนน้อย ไม่มีอัตราบรรจุ
รพ. ขาดทุน
ปฏิรูประบบ
• เร่งการบรรจุข้าราชการ
• รวม 3 กองทุน
• แนวคดิร่วมจ่าย
สถานการณ์สาธารณสุขของประเทศไทย
2.สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ
3.สถานการณ์ทางประชากรและสังคม
1.สถานการณ์การเมืองการปกครอง
4.สถานการณ์ทางการเกษตรและอาหาร
5.สถานการณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
6.สถานการณ์ด้านเทคโนโลยี
7.สถานการณ์ด้านระบบบริการสาธารณสุข
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ
วิสัยทัศน์
ระบบสุขภาพไทยเข็มแข็ง เป็นเอกภาพ เพื่อคนไทยสุขภาพดี สร้างประเทศให้มั่งคั่งและยั่งยืน
พันธกิจ
เสริมสร้าง สนับสนุนและประสานให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน นักวิชาการและประชาชนสังคมในอภิบาลและพัฒนาระบบสุขภาพไทยให้เข้มแข็ง รองรับบริบทของการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
หลักการของแผน12
-ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
-ยึดคนเป็นศูนย์กลาง
-ยึดเป้าหมายอนาคตประเทศไทยปี2579ควบคู่กับกรอบเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGS)
-การปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย4.0
ประเด็นการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข
-ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห้งชาติฉบับที่2
-กรอบแนวทางแผนระยะ20ปี ด้านสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์ชาติ20ปี
ยุทธศาสตร์และแผนงาน
ยุทธศาสตร์ที่1 เร่งการเสริมสร้างสุขคนไทยเชิงรุก
-ทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ
-คนไทยมีความรอบรู้ด้านสุขภาพเพิ่มขึ้นในระดับดีมาก ร้อยละ25
-พัฒนาการเด็กไทย 4.0 4H:Head Heart Hand Health IQเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า100
-ดูแลผู้สูงอายุให้ปลอดภัย แข็งแรง 3S:Security Social Strong
-ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุม ออกกำลังการ บริโภคผัก
-คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ
-ลดอันตรายการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บบนทางถนน
-มีระบบสุขภาพในอำเภอที่เข้มแข็ง
-เพิ่ม อสม.เชี่ยวชาญ
ยุทธศาสตร์ที่2 สร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในระบบบริการสุขภาพ
-สร้างทีมหมอครอบครัว
-ผลิตแพทย์เฉพาะทางด้านเวชศาสตร์ครอบครัว
-มีศูนย์แพทย์เชี่ยวชาญด้านมะเร็ง หัวใจ อุบัติเหตุ ทารกแรกเกิด ครบทุกเขต
-ระบบบริการสุขภาพมีมาตรฐานเกิดความปลอดภัย
-โรงพยาบาลผ่านมาตรฐานHA
-มี เข้าถึง ใช้ เทคโนโลยีด้านสุขภาพที่เหมาะสม
ยุทธศาสตร์ที่3 พัฒนาและสร้างกลไกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
-ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบค่าตอบแทน
-ผลิตและพัฒนากำลังคน HRH Transformation
ยุทธศาสตร์ที่4 พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งในการอภิบาลระบบสุขภาพ
-บริหารเป็นเลิศด้วยหลักธรรมาภิบาล
-ความมั่นคงของระบบยา เวชภัณฑ์และเทคโนโลยีทางการแพทย์
-SAFE : Sustainability ยั่งยืน Adequacy เพียงพอ Fairness เป็นธรรม Efficiency มีประสิทธิภาพ
-EMCO เจ็บป่วยฉุกเฉินรักษาทุกที่ ดีทุกสิทธิ
-บุคลากรใช้และส่งออกสมุนไพร
นางสาวอันนิกา จันทร์โท รหัสนักศึกษา 611410063-8