Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาหารที่เหมาะกับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ - Coggle Diagram
อาหารที่เหมาะกับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ
โรคเบาหวาน
รู้จักเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์
เลือกคาร์โบไฮเดรตชนิดดีกิน
เลือกกินชนิดไขมันที่ช่วยลดคลอเรสเตอรอลที่ไม่ดี
กินอาหารที่มีเเอนตี้ออกซิเดนซ์
กินอาหารที่มีจุลินมรีย์สุขภาพ เช่น โยเกิร์ตไขมันตํ่า นํ้าตาลน้อย
รู้จักเลือก รู้จักลด เเละงดอาหารที่เสี่ยงต่อสุขภาพ
ลดเเละงดคาร์โบไฮเดรตชนิดไม่ดี
ลดเเละงดไขมันที่ได้จากผลิตภัณฑ์สัตว์เเละไขมันทรานซ์
ลดอาหารหมักดองเเละอาหารเค็มจัด
เลือกกินเนื้อสัตว์อย่างฉลาด กินโปรตีน 0.8 กรัม/นํ้าหนักตัวกิโลกรัม กินเนื้อสัตว์ที่มีไขมันตํ่า หลีกเลี่ยงเนื้อสัตว์ที่มีไขมันสูง
กินโดยควบคุมปริมาณอาหารจากพลังงานที่ต้องการใช้ในเเต่ละวัน
เรียนรู้เเละนับคาร์บกับอาหารเเลกเปลี่ยน ปริมาณสารอาหารคาร์โบไฮเดรตในอาหารที่กินเข้าไปทำให้มีผลต่อระดับนํ้าตาลในกระเเสเลือด
ตับ ตับอ่อนผิดปกติ
อาหารบำบัดโรคตับอักเสบ
โปรตีน ควรได้รับโปรตันวันละ 75-100 กรัม เเต่ถ้าไม่สามารถกำจัดสารเอมโมเนียที่เกิดจากกระบวนการเมทาโบลิซึมของสารโปรตีนได้ก็จำเป็นที่จะต้องลดโปรตีนลง
คาร์โบไฮเดรต ผู้ป่วยควรได้รับวันละ 300-400 กรัม ในระยะเเรกควรให้นํ้าตาลเป็นหลักอาจให้ในรูปของเครื่องดื่ม ขนมหวาน เช่น นํ้าหวาน ไอศกรีม
ควรได้รับพลังงานสูงกว่าปกติเพราะผู้ป่วยส่วนใหญ่จะนํ้าหนักลด ควรได้รับพลังงานวันละประมาณ 2500-3500 กิโลเเคลอรี่
ไขมัน จะจำกัดมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความุนเเรงของโรค ส่วนใหญ่ทานได้ปริมาณร้อยละ 25-30 ของพลังงานที่ควรได้ทั้งวัน
อาหารบำบัดโรคตับเเข็ง
เเพทย์จะสั่งเพิ่มหรือลดปริมาณโปรตีนให้เหมาะสมกับผู้ป่วยเเต่ละคน ส่วนมากได้ประมาณวันละ 6-12 ช้อนโต๊ะ เเต่ถ้าเป็นเป็บเเข็งที่มีาการทางสมองร่วมด้วย จะลดให้เหลือประมาณสันละ 2-3 ช้อนโต๊ะหรืองดโปรตีนไประยะหนึ่ง
อาหารบำบัดโรคมะเร็งตับ
ควรได้รับโปรตีนเพิ่มขึ้นเป้น 1.5 กรัม/นํ้าหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ควรบริโภคธัญพืช ผักใบเขียวในปริมาณมากเกินไปเพราะจะทำให้เกิดอาการเเน่นท้องมากขึ้น
โรคความดันโลหิตสูง
ควบคุมนํ้าหนัก คนที่นํ้าหนักเกินปกติจะมีโอกาสเป็นโรคความันโลหิตสูงมากกว่าคนที่มีนํ้าหนักปกติ
ลดการบริโภคโซเดียม
หลีกเลี่ยงอาหารที่ใส่สารกันเสีย ที่มีโซเดียมเป็นส่วนประกอบ
ปรุงอาหารด้วยเครื่องเทศ หรือสมุนไพร
ลดความถี่เเละปริมาณการกินอาหารที่มีนํ้าจิ้ม
งดหรืออดอาหารที่มีไขมันมาก
หลีกเลี่ยงอาหารสำเร็จรูป
งดบุหรี่ เเละเครื่องดื่มเเอลกอฮอล์
ลดความเค็มในอาหาร
หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด อาหารหมักดองรสเค็ม
ลดการใช้เครื่องปรุงในอาหาร
ควรออกกำลังกายให้สมํ่าเสมอให้เหมาะสมกับกับวัย
โรคมะเร็ง
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
อาหารที่เพิ่งปรุงเสร็จกำลังร้อนจัด
อาหารหรือผลไม้ที่มีรสเปริ้ยว
อาหารเผ็ด
อาหารที่มีลักษณะเเข็งที่จะทำให้เจ็บเวลาเคี้ยว
พฤติกรรมการป้องกันมะเร็ง
ไม่รับประทานอาหารสุกๆดิบๆ จะทำให้เป็นโรคพยาธิใบไม้ในตับ เเละเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งท่อนํ้าดีในตับ
ลดการสูบบุหรี่ จะทำให้เสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งปอด กล่องเสียง
ลดอาหารดองเค็ม อาหาปิ้งย่าง รมควัน เสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร เเละลำไส้ใหญ่
หยุดการเคี้ยวหมาก ยาสูบ เสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งช่องปากเเละคอ
ลดไขมัน เสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านม ลำไส้ใหญ่ เเละต่อมลูกหมาก
ลดการดื่มแอลกอฮอรล์ ดื่มเเอลกอฮอล์จะเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งตับ
ไม่รับประทานอาหารที่มีราขี้น
โรคเก๊าท์
อาหารที่มีปริมาณพิวรีนปานกลาง รับประทานได้ในปริมาณจำกัด เช่น เนื้อหมู เนื้อวัว ปลากระพง ปลาหมึก ปู สะตอ ใบขี้เหล็ก
อาหารที่มีปริมาณพิวรีนน้อย สามารถทานได้ปกติ เช่น นม ขาวโอ๊ต ลูกเดือย ข้าวโพด ผักเเละผลไม้ ขนมปัง
อาหารที่มีปริมาณพิวรีนมาก ควรงดเว้นหรือหลีกเลี่ยง เช่น ตับอ่อน หัวใจ ไข่ปลา ปลาดุก ถั่วดำ ถั่วเขียว ถั่วเเดง ถั่วเหลือง ชะอม กระถิ่น เห็ด กะปิ
การปฏิบัติตัว
ควบคุมหรือจำกัดาหารประเภทที่มีกรดยูริกสูง ได้เเก่ พวกเครื่องในสัตว์ ชะอม กระถิน สะตอ
งดดื่มเหล้า ไวน์ เบียร์ หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
ควรดื่มนํ้าในปริมาณมากๆจะช่วยขับกรดยูริกออกทางปัสสาวะ
ในรายที่อ้วนเเละมีนํ้าหนักมากต้องลดนํ้าหนักตัวเองลง
หลีกเลี่ยงการใช้ยาเเอสไพรินเเละยาขับปัสสาวะ เพราะจะทำให้ไตขับกรดยูริกได้น้อยลง
ออกกำลังกาย เช่น ว่ายนํ้า ขี่จักรยาน หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายที่มีการกระทบกระเทือนข้อ
ปรึกาาเเพทย์เเละมาพบเเพทย์ตามนัดสมํ่าเสมอ กินยาอย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยควบคุมระดับกรดยูริกในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
โรคระบบทางเดินอาหาร
โรคกระเพาะอาหาร
อาหารที่ไม่เหมาะสมปับผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหาร
ผัก ผลไม้ดิบ ทำให้เกิดก๊าซ เเละมีอาการเเน่นท้อง ปวดท้องเพิ่มมากขึ้น
ผักที่มีก๊าซมาก ได้เเก่ กระถิน ชะอม ถั่วงอก สะตอ
ผลไม้ที่มีก๊าซมาก ได้เเก่ เเตงโม เเตงไทย ทุเรียน แอปเปิ้ล มันเเกว
เครื่องดื่มจำพวกชา กาแฟ จะกระตุ้นการหลั่งกรดในกะเพาะ
เครื่องเทศต่างๆ จะกระตุ้นให้มีการหลั่งกรดเเละเกิดความะคายเคื่องต่อเยื่อบุกระเพาะ
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหาร
อาหารรสอ่อน
อาหารจำพวกโปรตีน ช่วยให้ความเป็นกรดในกระเพาะอาหารลดลง
อ่อนนุ่ม ไม่มีกากหรือใย ไม่มีเม็ด เเละเปื่อยนุ่ม
เป็นอาหารที่อยู่ในกะเพาะได้นาน
ข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหาร
หลีกเลี่ยงสิ่งระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร เช่น ยาชุด
ถ้าเครียดพยายามลดความเครียด
อาหารที่รับประทานในเเต่ละมื้อไม่ควรมีปริมาณมากเกินไป
หมั่นออกกำลังกาย
งดสูบบุหรี่
รับประทานยาลดกรด
รับประทานอาหารอ่อนที่ย่อยง่าย เเละควรเคี้ยวอาหารให้ละเอียด
รับปะทานยาสมํ่าเสมอตามที่เเพทย์สั่ง
รับประทานอาหารให้ตรงเวลา
โรคถุงนํ้าดีอักเสบ
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคถุงนํ้าดีอักเสบ
ระยะที่ยังไม่มีการผ่าตัด ควรให้สารอาหารที่มีไขมันน้อยเเละไม่ควรเกินร้อยละ 25 ของพลังงานทั้งหมดหลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันมาก อาหารที่มีรสจัด
อาหารที่ไม่เหมาะกับผู้ป่วยโรคถุงนํ้าดีอักเสบ
อาหารที่มีก๊าซมาก เช่น กระถิน ชะอม สะตอ
ผลไม้ที่มีก๊าซมาก เช่น ทุเรียน ขนุน มังคุด
อาหารที่มีไขมันมาก เช่น อาหารทอด เเกงกะทิ
ผู้ป่วยหลังผ่าตัด
วิตามินเเละเกลือเเร่ ผู้ป่วยควรได้รับเกลือเเร่ให้เียงพอ การได้รับวิตามินอย่างเพียงพอจะช่วยให้เเผลหายเร็วขึ้น
นํ้า ต้องได้รับนํ้าให้เพียงพอ เพื่อรักษาสมดุลของนํ้าในร่างกาย ผู้ป่วยหลังผ่าตัดควรได้รับนํ้าประมาณวันละ 2000-3000 มิลลิลิตร
พลังงาน ผู้ป่วยจึงควรได้รับพลังงานประมาณวันละ 2500-3000 เเคลอรี่
อาหารที่ไม่เหมาะกับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
หลีกเลี่ยงอาหารสุกๆดิบๆ เเละอาหารประเภทหมักดอง เพราะเป็นอาหารที่ส่งผลร้ายต่อร่างกาย เเละอาจทำให้ติดเชื้อ เกิดอาการเเทรกซ้อนได้
โปรตีน ซ่มเเซมเเละเสริมสร้างเนื้อเยื่อต่างๆ ่วยให้บาดเเผลหายเร็วขึ้น ผู้ป่ยควรได้รับโปรตีนอย่างน้อยวันละประมาณ 1.5 กรัม/ นํ้าหนักตัว 1 กิโลกรัม
โรคหัวใจ
อาหารที่ทำให้ระดับไขมันในเลือดสูง
อาหารที่มีไขมันทรานซ์ เช่น เนยเทียม เนยขาว ขนมสำเร็จรูป อาหารทอด
อาหารที่มีคลอเรสเตอรอล เข่น ไข่เเดง เนื้อสัตว์ไขมันสูง เครื่องในสัตว์ สัตว์ปีก
อาหารที่มีกรดไขมันอิ่มตัว เช่น ผลิตภัณฑ์จำพวกนม นํ้ามันปาล์ม นั้ามันมะพร้าว เนื้อวัว เนื้อหมู เบคอน
อาหารที่เหมาะสมกับผู้ป่วยโรคหัวใจ
เลือกดื่มนมประเภทไขมันตํ่า
ลดการกินเค็ม
กินผัก ผลไม้เป็นประจำ
ใช้นํ้ามันในการปรุงอาหารเเต่พอควร
หลีกเลี่ยงการดื่มสุรา กาเเฟ เเละงดการสูบบุหรี่
ออกกำลังกายสมํ่าเสมอ
พักผ่อนให้เพียงพอ
หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำจากไขเเดง
หลีกเลี่ยงอาหารทอด เเละผลิตภัณฑ์วกเบเกอรี่
งดนํ้ามันมะพร้าว นํ้ามันปาล์ม
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีคลอเรสเตอรอลสูง
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง
โรคเอดส์
เนื้อสัตว์ ไข่ ถั่ว ทานวันละ 2-3 ส่วนทุกวัน
ผลิตภัณฑ์จากนม เช่น นมสด ควรทานวันละ 3 ส่วน
ผักเเละผลไม้ ควรรับประทานวันละ 5 ส่วน
ไขมัน
อาหารกลุ่มเเป้ง เช่น ข้าว ธัญพืช เผือก เป็นต้น ผู้ป่วยควรทานอาหารกลุ่มนี้ในทุกมื้ออาหาร
โรคไต
อาหารจำกัดโปรตีน
สำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ถ้ามีระดับฟอสเฟตในเลือดสูงควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีฟอสเฟตมาก เช่น ไข่เเดง ถั่ว
เมื่อจำกัดโปรตีนในอาหาร ควรให้อาหารที่มีพลังงานมาก ได้เเก่ นํ้าตาล ไขมัน แป้งที่มีโปรตีนน้อย เช่น วุ้นเส้น ลูกตาล ลูกชิด
โปรตีนที่ใช้ในอาหารจำกัดโปรตีน ควรเป้นโปรตีนที่มีคุณภาพสูงเนื้อสัตว์ นม ไข่ สำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังไม่ควรให้นมมากทำให้การสลายเเคลเซียมจากกระดูกออกมาทำให้กระดูกผุกร่อน
จำกัดปริมาณโปรตีนให้เหมาะสมกับการทำงานของไต มักกำหนดให้ประมาณ 20-40 กรัม/วัน เป็นการช่วยลดการทำงานของไตลง
อาหารเพิ่มโปรตีน
เพื่อชดเชยโปรตีนที่สูญเสียไปในปัสสาวะในผู้ป่วยที่มีการสูยเสียโปรตีนออกทางปัสสาวะเเละผู้ป่วยไตวายเรื่้อรังที่ได้รับการรัษาด้วยการล้างท้องเเบบ CAPD ควรได้รับโปรตีนวันละ 1.2-1.5 กรัม/นํ้าหนักตัว 1 กิโลกรัม สำหรับผู้ที่ได้รับการฟอกไตด้วยเครื่องไตเทียม ควรได้รับโปรตีนวันละ 1-1.2 กรัม/นํ้าหนักตัว 1 กิโลกรัม
อาหารจำกัดโซเดียม
อาหารจำกัดโซเดียมเพียงเล็กน้อย มีปริมาณ 1500-2000 มิลลิกรัม
อาหารจำกัดโซเดียมปานกลาง มีปริมาณ 1000-1200 มิลลิกรัม
อาหารจำกัดโซเดียมอย่างเบาที่สุด มีปริมาณ 2500 มิลลิกรัม ได้เเก่ อาหารธรรมดาที่ปรุงเค็มอ่อนๆ
อาหารจำกัดโซเดียมอย่างมาก มีปริมาณ 500-600 มิลลิกรัม
อาหารจำกัดโซเดียมอย่างเข้มงวด มีปริมาณ 250 มิลลิกรัม
ใช้สำหรับผู้ป่วยที่มีอาการบวม ความดันโลหิตสูงหรือหัวใจวาย
อาหารเพิ่มโซเดียม
ใช้เครื่องปรุงรสเค็มในการปรุงอาหาร เช่น เกลือ นํ้าปลา ซอส
ใช้อาหารที่มีรสเค็มในการประกอบอาหาร เช้น เต้าเจี้ยว
กินเนื้อสัตว์ที่ปรุงเค็มให้มากขึ้น เช่น เนื้อเค็ม ไข่เค็ม ปลาเค็ม
กินอาหารที่มีโซเดียมมากตามธรรมชาติเพิ่มขึ้น เช่น ไข่ ผักต่างๆ
อาหารจำกัดโพเเทสเซียม
ใช้ในผู้ป่วยที่ไตขับถ่ายของเสียได้น้อย จึงขำเป็นต้องจำกัดอาหารที่มีโพเเทสเซียมมาก มีมากในเนื้อสัตว์ ไข่ นม ผัก เเละผลไม้
อาหารเพิ่มโพเเทสเซียม
ใช้ในผู้ป่วยโรคไตระยะปัสสาวะมาก จึงต้องได้รับอาหารที่มีโพเเทสเซียมมาชดเชย ผู้ป่วยควรเลือกกินเนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ที่มีโพเเทสเซียมมาก โดยเฉพาะ นํ้าส้มเเละผลไม้เเห้ง
อาหารจำกัดฟอสเฟต
ใช้ในผู้ป่วยที่ไตขับถ่ายของเสียได้น้อย เเละมีฟอสเฟตในเลือดสูง จะมีมากในไข่เเดง นม ถั่วเมล็ดเเห้ง ผลไม้เเห้ง
ไฟไหม้ นํ้าร้อนลวก
โปรตีน ผู้ป่วยควรได้รับโปรตีนวันละ 2-3 กรัม/นํ้าหนักตัว 1 กิโลกรัม เเละควรเป็นโปรตีนที่ได้จากเนื้อสัตว์ ไข่ นม
วิตามินเเละเกลืิเเร่ ผู้ป่วยถูกความร้อนลวกเเละสูญเสียวิตามิน เกลือเเร่มาก ระยะนี้จำเป็นต้องได้อาหารที่มีิตามินเเละเกลือเเร่ให้พอ
พลังงาน ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับพลังงานให้เพียงพอประมาณ 50-70 เเคลอรี่/นํ้าหนักตัว 1 กิโลกรัม
นํ้า ในระยะเเรกผู้ป่วยจะสูญเสีียไปนํ้ามาก ทำให้ปริมาณเลือดลดลง จึงควรให้นํ้าเเละเกลือเเร่เเก่ผู้ป่วยให้เพียงพอเพื่อรักษาสมดุลนํ้าในร่างกาย
โรคขาดสารอาหาร
ความชิออร์กอร์
เป็นโรคขาดโปรตีนเเละเเคลอรี่ เด็กมีอาการบวมเห็นได้ชัดที่ขา 2 ข้าง เส้นผมมีลักษณะบางเปราะ เเละร่วงหลุดง่าย ตับโต มีอาการซึม เเละดูเศร้า ไม่สนใจต่อสิ่งเเวดล้อม ผิวหนังบางเเละลอกหลุด
มาราสมัส
เป็นโรคขาดโปรตีน เเคลอรี่ เเละคาร์โบไฮเดรต เด็กมีเเขนขาบีบเล็ก เป็นเเบบหนังหุ้มกระดูก ผิวหนังเหี่ยวย่นเหมือนหนังคนเเก่
อาการเเละอาการเเสดงทางคลินิก
เล็บงอเป็นช้อนในผู้ป่วยที่ขาดธาตุเหล็ก
เกร็ดกระดี่บริเวณหางตาในผู้ป่วยที่ขาดวิตามินเอ
ภาวะกดบุ๋มในผู้ป่วยความชิออร์กอร์ ผิวบางหลุดออกเป็นเเผ่นเล็ก ผมร่วงหลุดง่าย เล็บบาง เปราะ เเตกหักง่าย
มีเลือดออกตามไรฟันในผู้ป่วยที่ขาดวิตามินซี
หงุดหงิดง่ายนํ้าหนักลด ผอมเเห้ง ในผู้ป่วยมาราสมัส
โรคอ้วน
โรคที่เกิดจากร่างกายมีการสะสมเนื้อเยื่อไขมันมากกว่าเกณฑ์ปกติ
รับประทานอย่างไรถึงได้อ้วน
พลังงานที่ได้รับ มากกว่า พลังงานที่ใช้ไป = นํ้าหนักตัวเพิ่ม
พลังงานที่ได้รับ น้อยกว่า พลังงานที่ใช้ไป = นํ้าหนักตัวลดลง
อาหารที่เหมาะกับผุ้ป่วยโรคอ้วน
เลือกดื่มชา กาเเฟ ที่ไม่ใส่นํ้าตาล
เลือกดื่มนํ้าอัดลมที่ไม่มีนํ้าตาล
เลือกเมนูผ่านการปิ้ง นึ่ง อบ ย่าง ต้ม ตุ๋น เเกงไม่ใส่กะทิ
เลือกรับประทานกลุ่มเนื้อสัตว์ไขมันตํ่า คลอเรสเตอรอลตํ่า
เลือกบริโภคอาหารที่มีพลังงานตํ่า ไขมันตํ่า หวานน้อย ใยอาหารสูง
ลดการรับประทานอาหารกลุ่มพลังงานสูง
ควบคุมพลังงานที่ได้รับต่อวัน
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันทรานซ์