Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สายสะดือย้อย - Coggle Diagram
สายสะดือย้อย
-
-
-
ชนิดของสายสะดือย้อย
-
-
1.สายสะดือย้อยต่ำกว่าปกติลงมาอยู่ข้างๆส่วนนำของทารก สายสะดือนี้ถูกกดทับทางช่องคลอดเมื่อทารกเคลื่อนต่ำลงหรือมดลูกหดรัดถุงน้ำคร่ำอาจแตกไม่แตกก็ได้
การรักษา
1.การช่วยเหลือแบบฉุกเฉิน
-
-
-
-
1.1 จัดผู้คลอดได้รับการวินิจฉัยภาวะสายสะดือย้อยนอนในท่านอนหงายยกก้นสูง นอนตะแคงยกก้นสูง นอนท่าโก้งโค้ง กรณีเคลื่อนย้ายนอนท่า Elevate Sim's position
1.6 ทำให้กระเพาะปัสสาวะโป่งตึงโดยการใส่น้ำเกลือ 500-1,000 ml ทางสายสวนปัสสาวะ ช่วยดันมดลูกและส่วนนำ ลลดความรรุนแรงการหดรัดตัวของมดลูกและกดทับสายสะดือจาดส่วนนำ
2.การช่วยเหลือการคลอด
2.3 ทารกเสียชีวิตในครรภ์ ดำเนินการคลอดทางช่องคลอด ยกเว้นมีการผิดสัดส่วนทารกกับช่องเชิงกราน ต้องทำหัตถการทำลายทารกหรือผ่าทางหน้าท้อง
-
-
2.5 ใช้เครื่องสุญญากาศในรายที่ครรภ์หลัง ปากมดลูกเปิดเกือบเต็มที่ ท่าศีณษะที่ไม่ผิดสัดส่วนมารกกับช่องเชิงกราน ลดอัตราการตายของทารกกรณีห้องผ่าตัดไม่พร้ออม
-
2.6 ครรภ์หลังปากมดลูกเปิด 7-8 cmขึ้นไปที่เป็น Forelying cord ท่าทารกปกติก้าวหน้าการคลอดเร็ว ทารกไม่ขาดออกซิเจน พยายามไม่ให้ถุงน้ำแตก
อุบัติการณ์
พบประมาณร้อยละ 0.1-0.6 ในทารกส่วนนำเป็นก้นแบบ frank breech จพพบสูงร้อยละ 1 แบบ compleate breech พบร้อยละ 5 แบบ footling breech พบร้อยละ 15 และทารกท่าขวางพบร้อยละ20
ผลกระทบต่อทารก
สายสะดือย้อยเป็นภาวะวิกฤตต่อทารกเพราะทารกจะเสียชีวิตจากขาดออกซิเจน เนื่องจากสายสะดือถูกส่วนนำกดทับกับช่องทางคลอด พบทารกตายใน 3 นาที อัตราการตายทารกที่มีภาวะสายสะดือย้อยพบ ร้อยละ 10.7-16.8
-
-