Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกไหปลาร้าหัก (fracture of clavicle)
เกิดขึ้นกับเด็กมากที่สุด โดยเฉพาะในเด็กที่อายุต่ากว่า 10 ปี ส่วนในทารกอาจเกิดจากการคลอดติดไหล่
อาการและอาการแสดง
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
Crepitus คล้าได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา ให้ติดกับลาตัว พันนาน 10-14 วัน ระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็ก
ในเด็กอายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา และพันแขนให้ติดกับลาตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าสาลี คล้องแขนไว้นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ในทารกแรกเกิด มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ท้าคลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
ส่วนในเด็กโต อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง จะพบหัวไหล่บวม ช้้า เวลาจับไหล่หรือแขนให้มีการเคลื่อนไหวจะเจ็บปวด
การรักษา
การหักของกระดูกบริเวณนี้ อาจให้ห้อยแขนข้างที่หักไว้ด้วยผ้าคล้องแขนไว้นานประมาณ 2 - 3 สัปดาห์
ในรายที่กระดูกหักเคลื่อนออกจากกันมากๆควรตรึงแขนด้วย traction ตรึงไว้นานประมาณ 3 สัปดาห์ อาจทำ skin traction หรือ skeletal traction ก็ได้
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture )
พบบ่อยในเด็กเพราะเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง หรือข้อศอกงอ เด็กจะปวดบวมบริเวณข้อศอกอย่างมาก
โรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น : Volkman’s ischemic contracture กระดูกหักบริเวณนี้อาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของกระดูก Humerus
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส (pulled elbow)
เป็นการเคลื่อนที่ของหัวกระดูกเรเดียส ออกมาจากข้อ radio- humeral ไม่หมด
พบได้บ่อยในเด็กอายุต่ากว่า 6 ปี
เกิดจากการหยอกล้อ แล้วดึงแขนหรือหิ้วแขนเด็กขึ้นมาตรงๆในขณะที่ข้อศอกเหยียดและแขนท่อนปลายคว่ำมือ
กระดูกปลายแขนหัก
พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ่น
เกิดจากการกระทาทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
ตำแหน่งที่พบบ่อยคือ บริเวณปลำยล่ำงๆ หรือ ส่วนล่ำง 1/3 ของลำกระดูก
กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur )
พบได้ทุกวัย โดยเฉพาะอายุ 2 - 3 ปี
ต้าแหน่งที่พบคือ ช่วงกลางของกระดูกต้นขา
เด็กจะปวด บริเวณข้างที่หัก บวมตรงตำแหน่งกระดูก
การักษา
ถ้าอายุมากกว่า 3 ปี แก้ไขโดยทา Russel’s traction
ถ้าอายุต่้ากว่า 3 ปี แก้ไขโดยให้ใส่เฝือกขาแบบยาวนาน 3-4 สัปดาห์
ถ้ากระดูกเคลื่อนออกจากกันมากๆ ให้รักษาด้วยวิธี Gallow’s หรือ Bryant’s traction
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด (birth palsy)
สาเหตุ เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด ได้แก่ การคลอดท่าก้น ภาวะคลอดติดไหล่ เด็กมีน้้าหนักมากและการคลอดที่ใช้เวลานาน
การวินิจฉัย จากการสังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่จ้าเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
ข่ายประสาท brachial plexus เป็นการรวมตัวของรากประสาทไขสันหลังส่วน ventral rami ระดับ C5-T1ซึ่งเป็นเส้นประสาทที่เลี้ยงกล้ามเนื้อและรับความรู้สึกจากบริเวณไหล่จนถึงปลายมือเมื่อมีภยันตรายต่อข่ายประสาทมีผลให้เกิดอาการแขนอ่อนแรง