Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด Amniotic fluid embolism / AFR, นายชลธร…
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด Amniotic fluid embolism / AFR
ความหมาย
ภาวะที่มีน้ำคร่ำผ่านเข้าสู่กระแสเลือดของมารดา ทำให้ร่างกายเกิดปฏิกิริยาต่อต้านสารประกอบน้ำคร่ำโดยปฏิกิริยาต่อต้านทำให้เกิดภาวะล้มเหลวของการทำงานของระบบหายใจ หัวใจและการไหลเวียน
ลักษณะเฉพาะ 3 ประการ
ภาวะความดันโลหิตต่ำ Hypotension
ภาวะขาดออกซิเจน Hypoxia
ภาวะความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด Consumptive coagulopathy
สาเหตุ
การเร่งคลอดโดยใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ทารกตายในครรภ์เป็นเวลานาน
การคลอดเฉียบพลัน
รกเกาะต่ำ
รกลอกตัวก่อนกำหนด
มดลูกแตก
การบาดเจ็บในช่องท้อง
การผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
มารดามีบุตรหลายคน
มารดาตั้งครรภ์หลังอายุมากกว่า 35 ปี
น้ำคร่ำมีขี้เทาปน
การเบ่งคลอดขณะถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
การเจาะถุงน้ำคร่ำ
การรูดเพื่อเปิดขยายปากมดลูก
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกภายในและภายนอกครรภ์
อาการและอาการแสดง
เขียวตามใบหน้าและลำตัว Cyanosis
เกิดภาวะน้ำคั่งในปอด
หายใจลำบาก Dyspnea
เส้นเลือดที่หัวใจตีบ
คลื่นไส้ อาเจียน วิตกกังวล
ความดันโลหิตต่ำมาก Low blood pressure
เหงื่อออกมาก
ชัก
มีอาการหนาวสั่น Chill
หมดสติและเสียชีวิต
ถ้าเกิดอาการนานกว่า 1 ชั่วโมง
หากไม่ได้รับการแก้ไข
ผู้คลอดเสียกลไกการแข็งตัวของเลือดและเกิดการตกเลือดอย่างรุนแรง
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดง
เส้นเลือดหัวใจหดเกร็ง
เลือดออก
อาการเขียว
ไม่รู้สติ
ระบบหายใจล้มเหลว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
จะพบ Tachycardai ST และ T wave เปลี่ยนแปลง
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก
การตรวจหา Sialy 1TH antigen
พบระดับสูงขึ้นเมื่อน้ำคร่ำมีขี้เทาปน
การตรวจหาเซลล์ผิวหนัง ขนอ่อน Lanugo hair
การชันสูตรศพ
เลือดจากกระแสเลือดไปปอดของมารดา
เสมหะ
ตรวจการไหลเวียนของเลือดในปอด
พบความบกพร่องในการกำซาบ
การป้องกัน
ให้ Oxytocin ด้วยความระมัดระวังและไม่เจาะถุงน้ำคร่ำก่อนปากมดลูกเปิด
เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำคร่ำพลัดเข้าสู่กระแสเลือดจากเส้นเลือดฉีกขาดจากการเจาะถุงน้ำ
เจาะถุงน้ำคร่ำด้วยความระมัดระวังไม่ให้ถูกปากมดลูก
เส้นเลือดที่ปากมดลูกฉีกขาดและน้ำคร่ำพลัดเข้าสู่กระแสเลือด
ไม่ควรทำ Membranes stripping
เส้นเลือดดำบริเวณปากมดลูกด้านในฉีกขาด
ควรระมัดระวังการตรวจภาวะรกเกาะต่ำ
เกิดการแยกของรกจากผนังมดลูกด้านริมรก
เส้นเลือดดำที่ขอบรกฉีกขาด
ขณะเจ็บครรภ์คลอด ไม่ควรเร่งให้มดลูกหดรัดตัวถี่เกินไป
ควรหดรัดตัวแต่ละครั้ง ไม่ควรนานเกิน 60 วินาที ระยะห่างประมาณ 2-3 นาทีต่อครั้ง
ถ้าผู้คลอดเจ็บครรภ์ถี่มากเกินกำหนด
ควรรายงานแพทย์ให้ทราบ
ผลกระทบต่อมารดาและทารก
มารดา
เสียชีวิตจากการเสียเลือด
ทารก
มีภาวะบกพร่องทางระบบประสาท
การรักษา
ดูแลระบบการไหลเวียนเลือด
ให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ เพื่อเพิ่มปริมาตรเลือด พลาสมา และสารไฟบริโนเจน
แก้ไขภาวะสารไฟบริโนเจนในเลือดต่ำ เพื่อลดการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวจากการขาดเลือดไปเลี้ยง
ดูแลการหดรัดตัวของมดลูก
ให้ยา Oxytocin หรือ Methergin ทาง IV
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
จัดท่านอน Fowler's position
ให้ O2 100%
ระบบการหายใจล้มเหลว
ใส่ท่อช่วยหายใจ
ใช้เครื่องช่วยหายใจ
ถ้าทารกยังไม่คลอด
ประเมิน FHS
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องอย่างเร่งด่วน
เตรียมยาในการช่วยชีวิตหากมีความดันโลหิตต่ำ
Dopamine
Norepinephrine
Epinephrine
รักษาภาวะ DIC โดยให้ยา Heparin
ถ้าทารกในครรภ์มีชีวิต
ผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้องอย่างเร่งด่วน
หากมีภาวะ Postpartum hemorrhage PPH
ให้ยาช่วยการหดรัดตัวของมดลูก
คลึงมดลูกตลอดเวลา
หากไม่ได้ผล ควรพิจราณาตัดมดลูกออก
ผู้คลอดรอดชีวิต
ติดตามและแก้ไขภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
Pneumonia
Renal failure
Sheehan's syndrome
ให้ Platelet concentrated / Fresh whole blood / FFP
แก้ไขภาวะ fibrinogen ในเลือดต่ำ + เพิ่ม Blood volume
การพยาบาล
เฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดโดยคำนึงถึงปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
เช่น การให้ยาเร่งคลอด การเจ็บครรภ์คลอดที่รุนแรง การเจาะถุงน้ำ การตกเลือดหลังคลอด
เพื่อป้องกันการเกิดภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
ภาวะเขียวทั้งตัวหรือเริ่มเขียวเป็นบางส่วนของร่างกาย
จัดให้มารดานอนท่า Fowler
ให้ออกซิเจน
ให้สารน้ำและเลือดตามแผนการรักษา
เฝ้าระวังการเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด
สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก
เตรียมช่วยเหลือการคลอดโดยคีมหรือผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
เตรียมช่วยฟื้นคืนชีพ ในรายที่หัวใจล้มเหลว
การให้ยา
Morphine
ลดการคั่งของเลือดดำในปอด อาการหอบและเขียว
Digitalis
ช่วยให้หัวใจบีบตัวช้าลง แรงขึ้น เลือดออกจากหัวใจมากขึ้น
Hydrocortisone
ช่วยภาวะหดเกร็งของหลอดเลือดแดงฝอยของปอดให้มีการดูดซึมกลับของสารน้ำในเนื้อเยื่อต่างๆดีขึ้น
Isoprenaline
ช่วยให้การไหลเวียนของเลือดในปอดและการทำงานของหัวใจดีขึ้น
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด เนื่องจากมีปัจจัยที่ก่อให้เกิดภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
เสี่ยงต่อการตกเลือดอย่างรุนแรงและเกิดภาวะช็อก เนื่องจากการขาดกลไกการแข็งตัวของเลือดและมดลูกไม่หดรัดตัว
เกิดภาวะขาดออกซิเจนทั้งมารดาและทารก เนื่องจากการหดเกร็งของหลอดเลือดที่ปอดมารดา
นายชลธร บุญเฉลิม รหัสนศ 601001029 ชั้นปีที่ 3/1