Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด (Amniotic fluid embolism/AFE),…
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด (Amniotic fluid embolism/AFE)
ลักษณะเฉพาะ
ภาวะขาดออกซิเจน (hypoxia)
ภาวะความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด (consumptive coagulopathy)
ภาวะความดันโลหิตต่ำ (hypotension) อย่างทันทีทันใด
ปัจจัยส่งเสริม
ผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
แม่มีลูกหลายคน
การบาดเจ็บในช่องท้อง
มารดาตั้งครรภ์หลังที่มีอายุมากกว่า 35 ปี
มดลูกแตก
น้ำคร่ำมีขี้เทาปน
รกลอกตัวก่อนกำหนด
เบ่งคลอดขณะถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
รกเกาะต่ำ
เจาะถุงน้ำคร่ำ
คลอดเฉียบพลัน
การรูดเพื่อเปิดขยายปากมดลูก
ตรวจวินิจฉัยน้ำคร่ำก่อนคลอด
ทารกตายในครรภ์ เป็นเวลานาน
การเร่งคลอด ใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกภายในและภายนอกครรภ์
ผลกระทบ
ต่อลูก
โอกาสรอดชีวิตน้อย
ถ้ารอด มีภาวะบกพร่องทางระบบประสาท
ต่อแม่
เสียชีวิตจากการเสียเลือด
มีอาการทางระบบประสาท
การป้องกัน
การกระตุ้นการเจ็บครรภ์ ในรายที่เด็กตายในครรภ์โดยใช้ Oxytocin drip ควรทำอย่างระมัดระวัง ดูอาการหดรัดตัวของมดลูกอย่างใกล้ชิด และไม่ควรเจาะถุงน้ำก่อนปากมดลูกเปิดหมดเพื่อป้องกันไม่ให้น้ำคร่ำ พลัดเข้าสู่กระแสเลือด
ไม่ควรกระตุ้นการเจ็บครรภ์โดยวิธีเลาะแยกเยื่อถุงน้ำคร่ำ Stripping membranes จากคอมดลูก
เจาะถุงน้ำควรทำอย่างระมัดระวัง ไม่ให้ถูกปากมดลูก
หากรกเกาะต่ำ ตรวจภายในอย่างระมัดระวัง
ขณะเจ็บครรภ์คลอด ไม่ควรเร่งให้มดลูกหดรัดตัวถี่เกินไป ควรจะหดรัดตัวแต่ละครั้งนานไม่ควรเกิน 60 นาที ระยะห่างประมาณ 2-3 นาทีต่อครั้ง
ถ้าผู้คลอดเจ็บครรภ์ถี่มากเกินกำหนด พักได้น้อย ควรรายงานแพทย์
การวินิจฉัย
จากอาการและอาการแสดง
เส้นเลือดหัวใจหดเกร็ง (cardiovascular collapse)
เลือดออก
อาการเขียว
ไม่มีสติ
Respiratory distress
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG) พบลักษณะ tachycardia STและ T wave เปลี่ยนแปลง
ตรวจการไหลเวียนของเลือดในปอด พบ Perfusion defect
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก พบ Pulmonary edema
การตรวจหา Sialy 1TH antigen จะพบมีระดับสูงขึ้นในน้ำคร่ำที่มีขี้เทาปนเปื้อน
การตรวจหาเซลล์ผิวหนัง ขนอ่อน (lanugo hair)
การชันสูตรศพ (autopsy)
เลือดจากกระแสเลือดไปปอดของมารดา หรือในสายของซีวีพี (CVP line)
เสมหะ
อาการและอาการแสดง
Pulmonary edema
เส้นเลือดที่หัวใจตีบ
หายใจลำบาก (dyspnea)
ความดันโลหิตต่ำมาก
คลื่นไส้ อาเจียน วิตกกังวล
ชัก
เหงื่อออกมาก
หมดสติ (Unconscious) และเสียชีวิต
มีอาการหนาวสั่น (chill)
ถ้าเกิดอาการนานกว่า 1 ชั่วโมง ผู้คลอดตกเลือดอย่างรุนแรง
การรักษา
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
จัดท่านอน Fowler ‘ s position
ให้ออกซิเจน 100%
ใส่ท่อช่วยหายใจ/ใช้เครื่องช่วยหายใจ
ดูแลระบบการไหลเวียนเลือด
ให้สารละลายหลอดเลือดดำ
ให้เลือด โดยเลือดที่ใช้ไม่เกิน 24 ชั่วโมงหลังได้รับบริจาค
อาจได้รับยากระตุ้นหัวใจ เช่น Dopamine
ดูแลการหดรัดตัวของมดลูก ให้ยา oxytocin หรือ methergin ทางหลอดเลือดดำ
ถ้าทารกยังไม่คลอดประเมิน FHS และให้รับผ่าคลอดทางหน้าท้อง
เตรียมยาในการช่วยชีวิตถ้าความดันต่ำ เช่น Dopamine/Epinephrine/Norepinephrine
รักษาภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ (DIC) โดยให้ยา Heparin
ประเมินการเสียเลือดทางช่องคลอด
การพยาบาล
เฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
ถ้ามีอาการแสดง คือมีชักเกร็งโดยไม่มีความดันสูงมาก่อน
จัดท่านอน Fowler ‘ s position
ให้ออกซิเจน
ให้สารน้ำและเลือดตามแผนการรักษา
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก
เตรียมช่วยเหลือการคลอดโดยคีมหรือผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
เตรียมช่วยฟื้นคืนชีพ ในรายที่เกิดcardiac arrest
ดูแลและให้กำลังใจต่อครอบครัว ถ้ามารดาและทารกเสียชีวิต
ใช้เครื่องช่วยหายใจ 2-3 วันแรก
นางสาวกุสุมา สง่ากอง รหัส 601001011 ปี 3/1