Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท, นางสาวอภิสรา เอื้อกูล เลขที่ 90…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
ภาวะน้ำคั่งในกระโหลกศีรษะ (Hydrocephalus)
อาการ
Congenital Hydrocephalus (ความผิดปกติในการสร้างน้ำไขสันหลัง)
Obstructive Hydrocephalus (ความผิดปกติในการอุดกั้นทางเดินน้ำไขสันหลัง)
ปวดศีระษะ ซึม ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง
Communicate Hydrocephalus(ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง post meningitis)
ศีรษะโตเเก่กำเนิด กระหม่อมหน้าโป่ง ศีรษะเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับทรวงอก
การรักษา (Treatment)
การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดใส่ท่อระบายน้ำในโพรงกระโหลกออกนอกร่างกาย
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
การรักษา IICP
รักษาสาเหตุที่ทำให้เกิด IICP เช่น เนื้องอก การอุดกั้นทางเดินน้ำไขสันหลัง
การรักษาเบื้องต้นกรณีมี IICP สูงเฉียบพลัน
การจัดท่านอนราบศีรษะสูง 15-30 องศา
กรณีผู้ป่วยมีการเปลี่ยนเเปลงทางระบบประสาทอย่างรวดเร็ว
การให้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำ
โรคเเทรกซ้อนจากการผ่าตัด
ภาวะโพรงสมองตีบเเคบ
ภาวะเลือดออกในศีรษะเกิดเลือดออกในโพรงสมอง
ภาวะระบายน้ำในโพรงสมองมากเกิน
การอุดตันสายระบายน้ำในโพรงสมอง
ไตอักเสบ
การติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
การทำงานผิดปกติของการระบายน้ำในโพรงสมอง
สมองพิการ(Cerebral Palsy)
อาการเเละอาการเเสดง
มีการเจริญเติบโตเเละพัฒนาการช้า
ปัญญาอ่อน
อาการอื่นๆ เช่น ชัก
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ
ประเมินร่างกาย
ภาวะแทรกซ้อนเกี่ยวกับตา
อาจต้องใช้ผ้าปิดตา เพื่อไม่ให้ตาเเห้ง
ถ้าตาแห้งอาจต้องใช้น้ำตาเทียม
สังเกตเเละประเมินอาการที่บ่งชี้ว่า จะมีการระคายเคืองหรือการอักเสบตา
ภาวะเเทรกซ้อนทางผิวหนัง
หมั่นเปลี่ยนท่านอน หรือพลิกตะเเคงตัวบ่อยๆ
ดูเเลผิวหนังให้สะอาดเเละชุ่มชื้นอยู่ตลอดเวลา
ประเมินสภาพผิวหนังเป็นระยะๆ
ควรทาครีมบำรุงผิว
ดูเเลบริเวณอวัยวะเพศภายนอก
คำเเนะนำในการให้ยากันชัก
ลืมข้ามวันเเละมรอาการชัก ให้ไปพบเเพทย์
ลืมข้ามวันเเละไม่มีอาการให้รับประทานยาต่อไป
ลืมในวันเดียวกันให้รับประทานยาทันทีที่นึกได้
ถ้ารับประทานยาเเลัวมรอาการอาเจียนภายในครึ่งชั่วโมง ให้รับประทานยาซ้ำขนาดเดิน ถ้าเกินครึ่งชั่วโมงไม่ควยให้ยาซ้ำ
รับประทานยากันชักสม่ำเสมอต่อเนื่องตามเวลา ห้ามหยุด เพิ่ม หรือลดยาเอง
เมื่อไม่สบายไม่ควรซื้อยารับประทานเอง
กิจกรรมการพยาบาล
ด้านอาหาร
ดูเเลให้ได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำตามเเผนการรักษา
บันทึกปริมาณน้ำดื่ม เเละปัสสาวะทุกวัน
ดูเเลให้เด็กได้รับสารอาหารอย่างครบถ้วน
ควรชั่งน้ำหนักทุกวันหรทอตามแผนการรักษา
ด้านการขับถ่าย
ถ้าเด็กมีสายสวนปัสสาวะ พยาบาลควรดูเเลความสะอาด
ดูเเลผิวหนังทุกครั้งหลังการขับถ่ายทั้งปัสสาวะเเละอุจจาระ
ดูเเลให้เด็กได้รับน้ำอย่างเพียงพอเเละสอดคล้องกับเเผนการรักษา
เปลี่ยนผ้าอ้อมหรือกางเกงทุกครั้งที่เด็กขับถ่าย
ประเมินบริเวณหน้าท้อง เพื่อตรวจสอบว่ากระเพาะปัสสาวะตึงหรือไม่
ดูเเลให้ยาระบาย เพื่อป้องกันอาการท้องผูกตามแผนการรักษา
ด้านความสะอาด
อาบน้ำให้เด็กทุกวัน
เปลี่ยนผ้าให้เด็ก
สระผมให้เด็กบ่อยๆ
ดูเเลความสะอาดของปาก ฟัน ผิวหนัง เเละเล็บอย่างสม่ำเสมอ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
อาการเเละอาการเเสดง
มีอาการคอเเข็ง คือมีเเรงต้านเมื่อก้มคอผู้ป่วย
ตรวจพบ Kering sign เเละ Brudzinski sign ให้ผลบวก
มรอาการไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดข้อ ชักเเละซึมลงจนหมดสติ
รีเฟล็กซ์ลึกไวเกิน มีอาการที่เเสดงว่าเส้นประสาทสมองถูกรบกวนหรือทำลาย (คู่ที่ 3,4,5,6,7,8)
เยื่อหุ้มสมองอักเสบที่เกิดจากเชื้อเเบคทรีเรีย
ตรวจ Badinski ให้ผลบวก
ในรายที่เกิดจากเชื้อเมนิงโกคอคคัส
มีเลือดออกที่ต่อมหมวกไต
พบ Neutrophil ถึงร้อยละ 85-95
จะตรวจพบผื่นเเดงที่ผิวหนัง จุดเลือดออก กระจายทั่วๆไป
CSF ประมาณ 1,000-10,000 เซลล์/คิวบิคมิลลิเมตร
การตรวจน้ำไขสันหลัง (CSF)
ไม่มีเม็ดเลือดเเดงเเละเม็ดเลือดขาว
โปรตีน 15-45 mg/100ml
ความดันระหว่าง 75-180 มม (5-15มม.ปรอท)
กลูโคส 50-75 mg/100ml
คลอไรด์ 700-750 /100ml
Culture & Latex agglutination
ค่าปกติของน้ำไขสันหลัง ปกติจะไม่มีสี
ชักจากไข้สูง (Febrile Seizure)
สาเหตุ
การติดเชื้อในระบบต่างๆ ที่ไม่ใช่ระบบประสาท เช่น การติดเชื้อระบบทางเดินอาหาร ทางเดินปัสสาวะ ทางเดินหายใจ
ปัจจัยเสี่ยงของการชักซ้ำ
มีความผิดปกติของระบบประสาทก่อนมีอาการชัก
ประวัติการชักของสมาชิกในครอบครัว
อายุ เด็กที่มีอาการชักครั้งเเรกในช่วงอายุก่อน 1 ปี
ไข้ที่เกิดร่วมกับการติดเชื้อ
อาการ
อาการชัก เกืดขึ้นภายในอายุ 24 ชม. เเรกที่เริ่มมีไข้
มักเกิดในอายุ 3เดือน ถึง5ปี
มีอาการชักเมื่อมีอุณหภูมิสูงกว่า 39ํ ํc
พบมากช่วงอายุ 17-24 เดือน
โรคไข้กาฬหลังเเอ่น (Meningococcal Meningitis)
เชื้อสาเหตุ
เป็นเชื้อเเบคทีเรียเเกรมลบ รูปร่างกลมคล้ายเม็ดถั่ว
เรียงตัวกันอยู่เป็นคู่ๆ โดนหันด้านเรียบเข้าหากันไม่สร้างสปอร์
เกิดจากเชื้อเเบคทีเรีย Neisseria meningitides
การเก็บเเละส่งตัวอย่างตรวจ
วิธีตรวจหาค่า Minimum inhibition concentration (MIC)
วิธีทางชีวเคมี เเละวิธี PCR (กรณีเก็ยตัวอย่างเชื่อบริสุทธิ์)
วิธี seminested - PCR
อาการเเละอาการสำคัญ
ส่วนใหญ่มาด้วยอาการสำคัญ 2 อย่าง
Meningococcemia
Chronic Meningococcemia (พบได้น้อย)
Fulminant Meningococcemia (เป็นอย่างรุนเเรง)
Acute Meningococcemia (อาการเกิดอย่างเฉียบพลัน)
Meningitis
มีอาการไข้ ปวดศีรษะ คอเเข็ง ซัมเเละสับสน
อาการจะเเย่ลงอย่างรวดเร็ว
อาจพบอาการที่เเสดงถึงการระค่ยเคืองของเยื่อหุ้มสมอง
ผู้ป่วยส่วนหนึ่งจะมีจ้ำเลือดออกตามผิวหนัง
ไข้ ปวดศีรษะรุนเเรง อาเจียน คอเเข็ง อาจมีผื่รแดง จ้ำเลือด (pink macules)
อาจเกิดภาวะช็อกอย่างรวดเร็ว
การรักษา
ยาปฏิชีวนะ เช่น Ceftriaxone / PGS / Chloramphenicol
การรักษาเเบบประคับประคองเเละตามอาการอื่นๆ
Glucocorticoid therapy ก่อนการให้ยาปฏิชีวนะ 15 นาที
ภาวะชักเเละโรคลมชัก(Seizure and Epilepsy)
สาเหตุ
ภาวะติดเชื้อที่กระโหลกศีรษะ
2.ภาวะเลือดออกในกระโหลกศีรษะ
4.ภาวะผิดปกติทางไต
3.ภาวะผิดปกติ
ทางmetabolism
5.เนื้องอกในกระโหลกศีรษะ
6.โรคบาดทะยัก
8.ความผิดปกติของสมองโดยกำเนิด
7.ภาวะไข้สูงในเด็กเล็ก
9.โรคลมบ้าหมู/โรคลมชัก
ชนิดเเละลักษณะเฉพาะของภาวะชัก
1. Partial sizure
คือการชักที่เกิดจากความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าสมองเฉพาะที่
2. Generalized seizure
คือ การชักที่เกิดจากความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าสมองทั้ง 2 ด้าน
3. Unclassified epileptic seizure
เป็นการชักที่ไม่สามารถจัดกลุ่มได้เนื่องจากข้อมูลไม่เพียงพอหรือเนื่องจากไม่สมบูรณ์ของสมอง
นางสาวอภิสรา เอื้อกูล เลขที่ 90 ห้องA