Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
สาเหตุของการเกิดพยาธิสภาพทางระบบประสาทบางอย่างเกิดขึ้นเฉพาะในเด็กเท่านั้นตัวอย่างเช่น
ภาวะการเผาผลาญผิดปกติแต่กําเนิด
อาการและอาการแสดงของโรคหรือภาวะเดียวกันในเด็กและผู้ใหญ่ก็มีความ
แตกต่างกันได้
การประเมินระบบประสาทในผู้ป่วยเด็ก
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
กะโหลกศีรษะและกระดูกสันหลัง
กล้ามเนื้อและการเคลื่่อนไหว
การรับรู้และประสาทสัมผัส
การประเมิน Neurological signs
รู้สึกตัวดี (Alert)
ง่วงซึม(Drowsiness)
ง่วงงง (stupor)
กระสับกระส่าย สับสน (Restless or confuse)
เกือบไม่รู้สึกตัว (Semi-conscious)
ไม่รู้สึกตัว (Coma)
ปฏิกิริยาตอบสนองต่อแสงของรูม่านตา
การเคลื่่อนไหวของลูกตา
การเคลื่่อนไหวและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Motor function)
หลักการพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการตรวจทางระบบประสาท
การตรวจนํ้าไขสันหลัง (lumbar Puncture)
การทํา subdural tap เป็นการใช้เข็มเจาะที่บริเวณขม่อมหน้า
การตรวจ brain scan
การตรวจ computerized tomography (CT Scan)
การพยาบาลก่อนการตรวจวินิจฉัย
การพยาบาลขณะตรวจวินิจฉัย
การพยาบาลหลังการตรวจวินิจฉัย
หลักการพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะความดันสูงในกะโหลกศีรษะ
ถ้าความดันของนํ้าไข
สันหลังที่เจาะได้สูงเกินกว่า 200 มิลลิเมตรนํ้า ก็เป็นเครื่องบ่งชี้ว่า มีความดันในกะโหลกศีรษะสูง
เกิดขึ้นรวดเร็ว (acute onset)
การอุดกั้นทางเดินนํ้าไขสันหลังอย่างทันทีทันใด,Encephalitis และ ภาวะเป็นพิษทั้งหลาย, การตกเลือดในกะโหลกศีรษะ
อาการและอาการแสดง
ปวดศีรษะ,อาเจียนรุนแรง,ภาวะการรู้สติเลวลงอย่างรวดเร็ว,ตรวจ eyeground พบ papilledema
เกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป
อาการและอาการแสดง
ปวดศีรษะ อาเจียน ซึมลง เห็นภาพซ้อน ตามัว Papilledeman ขม่อมโป่งตึง
การรักษา
รักษาตามสาเหตุที่เกิดขึ้น
หลักการพยาบาล
การกําซาบของเนื้อเยื่อสมอง (cerebral tissue perfusion) ลดลง
เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากการชัก และอาจเกิดการชักซํ้า
ผู้ปกครองมีความวิตกกังวลต่ออาการและโรคของผู้ป่วยเด็กรวมทั้งขาดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับวิธีการตรวจรักษาพยาบาล
ผู่ป่วยเด็กมีความไม่สุขสบายจากภาวะ ICP
Hydrocephalus ภาวะที่มีนํ้าไขสันหลังคั่งอยู่ในกะโหลกศีรษะมากผิดปกติ
สาเหตุ
การสร้างนํ้าไขสันหลังมากผิดปกติ
การอุดกั้นของทางผ่านของนํ้าไขสันหลัง
ความผิดปกติในการดูดซึมนํ้าไขสันหลัง
Congenital hydrocephalus
Acquired hydrocephalus
อาการและอาการแสดง
ซึ่งมักมาพบแพทย์ด้วยเรื่องศีรษะโต
มีหน้าผากโปนเด่นกว่าปกติหนังศีรษะ บาง เป็นมัน
มี sunset eyes
เมื่อเคาะดูจะมีเสียงเหมือนภาชนะร้าว (cracked pot)
การรักษา
การผ่าตัด เพื่อแก้ไขสาเหตุโดยตรง
การรักษาโดยการเจาะหลังร่วมกับการใช้ยา
หลักการพยาบาล
เสี่ยงต่อการติดเชื้อจากการทําผ่าตัด shunt replacement หรือจากการทําหัตถการต่างๆ
ไม่สุขสบายจากการผ่าตัด
พัฒนาการล่าช้า จากการช่วยเหลือตนเองไม่ได้หรือได้น้อย
ผู้ปกครองมีความวิตกกังวลต่ออาการ การผ่าตัดและพัฒนาการของผู้ป่วย
อาจเกิดภาวะขาดสารอาหาร อันเป็นผลจากการอาเจียน เนื่องจากมี ICP, จากภาวะไม่สุขสบายต่างๆการงดอาหารและนํ้าในบางระยะ ฯลฯ
อาการชัก (Convulsion)
Partial seizures เป็นการชักที่เริ่มต้นที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายก่อน
Generalized seizures เป็นการชักทั้งตัว และผู้ป่วยเด็กมักไม่รู้สึกตัวร่วมด้วย
Unclassified seizures
Status epilepticus
สาเหตุ
ภาวะติดเชื้อที่กะโหลกศีรษะ
ภาวะเลือดออกในกะโหลกศีรษะ
ภาวะผิดปกติทาง metabolism
ภาวะผิดปกติทางไต
เนื้องอกในกะโหลกศีรษะ
โรคบาดทะยัก
ภาวะไข้สูงในเด็กเล็ก
ความผิดปกติของสมองโดยกําเนิด
โรคลมบ้าหมู/โรคลมชัก
Infantile Spasm
อาการอาจจะค่อยๆ ลดลงและหาย
ไปเอง แต่มักจะมีภาวะพร่อง สติปัญญาหลงเหลืออยู่
ซึ่งมีลักษณะเฉพาะ คือ มีอาการงอตัว และแขนขาโอบเข้าหากัน
หัวผงกอย่างรวดเร็วคล้ายสะดุ้ง บางครั้งมีเสียงร้องเหมือนรู้สึกเจ็บปวดเกิดขึ้นในระหว่างการกระตุกด้วย
สาเหตุไม่ทราบแน่นอน
Febrile Convulsion
หมายถึงอาการชักที่เกิดในขณะที่เด็กมีไขั โดยที่สาเหตุของไขัไม่ไดัเกิดจากการติดเชื้อของสมองและเยื่อหุัมสมอง
Primary Febrile convulsion (simple febrile convulsion)
ไม่มีอาการหรือความผิดปกติของระบบสมอง มีอาการชักเพียงระยะสั้นๆ ครั้งเดียวไม่เกิน15 นาที ลักษณะการชักเป็นแบบชักทั้งตัว
Secondary Febrile Convulsion (complex febrile convulsion, seizure with fever)
ผู้ป่วยเด็กมักจะมีความผิดปกติของระบบประสาท ศีรษะโตหรือเล็กกว่าปกติมีอาการชักเป็นเวลานานกว่า 15 นาที ลักษณะการชักเป็นแบบเฉพาะที่
ปัจจัยเสี่ยงของการชักซํ้า
ประวัติการชักของสมาชิกในครอบครัว
อายุของผู้ป่วยเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กที่มีอาการชักครั้งแรกในช่วงอายุก่อน 1 ปี
มีความผิดปกติของระบบประสาทก่อนมีอาการชัก
ไข้ที่เกิดร่วมกับการติดเชื้อ
สิ่งเร้าให้เกิดการชักในผู้ป่วยเด็กโรคลมชัก
ไข้พบบ่อยที่สุด ถ้าผู้ป่วยเด็กเล็กมีไข้แพทย์จะเพิ่มยากันชัก
การออกกําลังกายมากเกินไป
การพักหลับไม่เพียงพอ
การกินยาไม่สมํ่าเสมอ
ความเครียด เช่น การหายใจลึกๆ แสง เสียง
ภาวะภูมิแพ้ที่มีความสัมพันธ์กับ recurrent convulsive disorder
(Cerebral palsy : CP)
ความพิการทางสมอง
ชนิดของโรค
Spastic Cerebral palsy (Pyramidal) ชนิดแข็งเกร็ง
Extrapyramidal Cerebral palsy มีกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
สาเหตุ
ระยะก่อนคลอด สาเหตุที่พบบ่อยคือ
จากมารดามีการติดเชื้อขณะตั้งครรภ์เช่น หัดเยอรมัน
ระยะคลอดสาเหตุที่พบบ่อยคือ Maternal or fetal anoxia , Premature birth , Difficult of prolongedlabour , Intracranial bleeding , Hypoglycemia, Jaundice
หลังคลอด พบสาเหตุได้ประมาณ 15%
อาการและอาการแสดง
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า
ปัญญาอ่อน
รีเฟล็กซ์ต่างๆ ผิดปกติ
อาจพบอาการอื่นร่วมด้วยเช่น ชัก หูหนวก มองไม่เห็น
การวินิจฉัย
จากประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดของมารดา
การตรวจร่างกาย
เวลาจับยืนจะยืดขาตรงเกร็ง
มี Cortical Thumb posture หลังอายุ 3 เดือน
หลักการพยาบาล
ความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ลดลง เนื่องจากช่วยเหลือตนเองได้น้อย หรือไม่ได้เลย
มี/หรืออาจเกิดภาวะข้อติดแข็ง กล้ามเนื้อลีบ เนื่องจากชักเกร็งบ่อยและช่วยเหลือตนเองไม่ได้หรือได้น้อย
Myelodysplasia
Spina bifida occulta พวกนี้ tube ปิดแล้วแต่ Mesoderm ที่มาเจริญคั่นไม่ดีคือ
Meningocele meninges ยื่นออกไปเป็นก้อนที่มีผิวหนังคลุม
Myelomeningocele ไขสันหลังผิดปกติและยื่นเข้าไปอยู่ในถุง meningocele
สาเหตุ
การขาดอาหาร โดยเฉพาะ สังกะสี โฟเลต วิตามิน
อายุของมารดา
การรักษา
ส่วนใหญ่แพทย์รักษาโดยการผ่าตัด ซึ่งจะต้องพิจารณา
โอกาสที่ผู้ป่วยเด็กจะเจริญขึ้นมาดําเนินชีวิตที่คุ้มค่า
ลักษณะของ Meningocele
หลักการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดการติดเชื้อบริเวณที่มีพยาธิสภาพและสมอง เนื่องจากมี open membranous sac,
CSF ไหลจากบริเวณที่มีพยาธิสภาพ
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะความดันสูงในกะโหลกศีรษะ เนื่องจากบางรายอาจมี hydrocephalus ร่วมด้วย
มี/อาจเกิดภาวะ bowel and bladder dysfunction เนื่องจากเส้นประสาทที่มาเลี้ยง อวัยวะควบคุมการขับ
ถ่ายมีน้อย หรือไม่มีเลย
ผู้ปกครองมีความวิตกกังวลต่ออาการ โรคของผู้ป่วยเด็ก รวมทั้งวิธีการรักษา
หลักการพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีการติดเชื้อระบบประสาท
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
เยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดเป็นหนอง (Purulent meningitis)
สาเหตุ
ทารกแรกเกิดมักเกิดจาก Escherichia coli, Pseudomonas
ทารกอายุ 1 เดือนถึง 1 ปีมักเกิดจาก H.Influenzae type B
เด็กโตและผู้ใหญ่มักเกิดจาก Streptococcus pneumoniae, Neisseria meningitidis
อาการทางคลินิก
ทารกจะซึม ไม่ดูดนม ชัก
ทารกอายุ 3 เดือน ถึง 1 ปีมีไข้ขม่อมหน้าโป่งตึง
เด็กโต มีอาการของการติดเชื้อ
การวินิจฉัยโรค
จากประวัติ
อาการทางคลินิก และการตรวจร่างกาย
การตรวจเลือดและนํ้าไขสันหลัง
การรักษา
ใหยาปฏิชีวนะ ตามเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรค นาน 10-14 วัน
รักษาตามอาการเช่น ยาลดไข้ยาลดสมองบวม
ภาวะแทรกซ้อน
ระยะแรก เช่น ชัก สมองบวม ฝีในสมอง หนองใต้ชั้นดูรา
ระยะหลัง เช้น ปัญญาอ่อน อัมพาตของแขนขา โรคลมชัก ศีรษะโต
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อวัณโรค (Tuberculous meningitis)
สาเหตุ เกิดจาก Mycobacterium tuberculosis
การวินิจฉัยโรค
จากประวัติ
อาการทางคลินิกและการตรวจร่างกาย
Tuberculin test ได้ผลบวก
ลักษณะนํ้าไขสันหลัง
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก
การรักษา
ยาปฏิชีวนะ
รักษาประคับประคอง
รักษาอาการของความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ภาวะแทรกซ้อนนํ้าไขสันหลังคั่งในกะโหลกศีรษะ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ปัญญาอ่อน ชัก อัมพาต
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อไวรัส (Viral meningitis)
สาเหตุ เชื้อไวรัสที่พบบ่อยคือ Coxsachie group B, Echo virus, Mumps virus, Polio virus
อาการทางคลินิก มีการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมองและอาการเฉพาะของการติดเชื้อไวรัสแต่ละชนิด
การวินิจฉัยโรค จากประวัติอาการ การตรวจร่างกาย การตรวจเลือดและนํ้าไขสันหลัง
การรักษา รักษาตามอาการ เช่น ยาลดไข้ยาระงับการอาเจียน
ไข้สมองอักเสบ (Encephalitis)
อาการทางคลินิก
ระยะ Viremia มีไข้ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร ต่อมาระดับความรู้สึกตัวลดลงชัก อาจเสียชีวิต
การวินิจฉัยโรค
จากประวัติ
อาการทางคลินิก และการตรวจร่างกาย
การตรวจเลือด
ตรวจนํ้าไขสันหลัง
ตรวจคลื่นสมอง
ตรวจซีรั่มหาไตเตอร์ของแอนตีบอดีย์ต่อเชื้อไวรัส
การรักษา
ลดไข้
ลดภาวะสมองบวม ให้ Mannitol, Dexamethasone
ระงับการชักให้ Phenobarb, Diazepam
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
ใหอาหาร นํ้า และเกลือแร่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
ปองกันภาวะแทรกซ้อนเช่น แผลกดทับ
การป้องกันโรค
ควบคุมพาหะนําเชื้อ
ควบคุมสัตว์ที่แพร่เชื้อ
ระวังไม่ให้ถูกยุงกัด โดยเฉพาะเวลาพลบคํ่า
ฉีดวัคซีนป้องกันโรคในคน โดยฉีดวัคซีน 2 เข็ม ห่างกัน 1-2 สัปดาห์และฉีดกระตุ้นอีก 1 เข็มใน 1ปีต่อมา
โรคฝีในสมอง (Brain abscess)
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย ที่พบบ่อยคือ Streptococcus Staphylococcus
อาการทางคลินิก
อาการของการติดเชื้อเช่น ไข้สูง อ่อนเพลีย ซึม
อาการของภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
อาการแสดงเฉพาะที่ของระบบประสาท ขึ้นกับตําแหน่งของฝี
การวินิจฉัยโรค
จากประวัติ
อาการทางคิลนิก และการตรวจร่างกาย
การตรวจเลือดพบเม็ดเลือดขาวเพิ่มจํานวนมากและเซลนิวโตรฟิลขึ้นสูง
การถ่ายภาพรังสีของกะโหลกศีรษะ
การตรวจคลื่นไฟฟ่าสมอง (EEC), Brain scan, Cerebral angiogram,
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ
ให้ยาลดการบวมของสมอง
ผ้าตัดระบายหนองหรือตัดเอาส้วนที่เป็นฝีออก
หลักการพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีการติดเชื้อของระบบประสาท
ผู้ป่วยเด็กมีภาวะความดันสูงในกะโหลกศีรษะ และเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากการชัก
อาจได้รับสารอาหารและนํ้าไม่เพียงพอ เนื่องจากอาการและพยาธิสภาพทางสมอง และการได้รับยาขับนํ้า
ไม่สุขสบาย พักหลับได้น้อย เนื่องจากภาวะ ICP มีการระคายเคืองจากการอักเสบของเยื่อหุ้มสมองหรือเนื้อเยื่อสมอง มีไข้ มีความเจ็บปวด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะอุดกั้นของทางเดินหายใจ และเซลล์สมองขาดออกซิเจน
พัฒนาการล่าช้า