Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ Hand-Numb-03 - Coggle…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ Hand-Numb-03
โรคกระดูกอ่อน
(Ricket)
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้
โรคไตบางชนิดทำให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟต
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
ภาวะฟอสเฟตต่ำ (Hypophosphatasia)
อาการและอาการแสดง
ในเด็กเล็กความตึงตัวของกล้ามเน้ือจะน้อย กล้ามเน้ือหย่อน อ่อนแรง หลังแอ่น
ขวบปีแรกเด็กจะมีความผิดรูป
กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ
รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า
ส่วนหลังของกะโหลกศีรษะแบนราบลง
กะโหลกนิ่ม หน้าผากนูน ฟันข้ึนช้า ผมร่วง
หลังหนึ่งขวบแล้วจะพบความผิดรูปมากข้ึน
กระดูกสันหลังคดหรือหลังค่อม
ท่าเดินคล้ายเป็ด อาจเกิดกระดูกหักได้
พบขาโก่ง ขาฉิ่ง
การรักษา
แบบประคับประคอง
(ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป)
การรักษาสาเหตุ
(ให้วิตามินดี)
การป้องกัน
ให้วิตามินดี 200 หน่วยต่อวันต่อน้ำหนักตัวสำหรับเด็กคลอดก่อนกำหนด
ให้ออกกำลังกายกระตุ่นการสร้างของกระดูก
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
ระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขดลัดขวางการดูดซึมแคลเซียม
การรับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม
Bone and Joint infection
Osteomyelitis
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย, เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทง
จากภายนอก หรือจากอวัยวะใกล้เคียง
การแพร่กระจายจากกระแสเลือด
การวินิจฉัย
ประวัติ
มีอาการปวด เด็กเล็กแสดงออกโดยไม่ใช้แขน ขา ส่วนนั้น
ทารกนอนนิ่งไม่ขยับแขน ขา ข้างที่เป็น (pseudoparalysis)
เด็กโตบอกตำแหน่งที่ปวดได้
อาการไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
อาจมีการบาดเจ็บเฉพาะที่ร่วมด้วย
การตรวจร่างกาย
ปวด บวม แดง ร้อน เฉพาะที่
บริเวณที่มีพยาธิสภาพอาจมีความผิดปกติ
ปวดมากข้ึนถ้ากดบริเวณนั้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผล CBC พบ Leucocytosis , ESR , CRP มีค่าสูง
ผล Gramstain และculture ข้ึนเชื้อที่เป็นสาเหตุ
การตรวจทางรังสี
Plain flim พบเน้ือเยื่อส่วนลึกบวม โดยเฉพาะบริเวณ metaphysis
Bone scan ได้ผลบวกบอกตำแหน่งได้เฉพาะ
MRI พบ soft tissue abcess, bone marrow edema
ค่าใช้จ่ายสูงในเด็กเล็กๆ ต้องทำตอนเด็กหลับ
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเน้ือ กระดูกตายออก
อาการแทรกซ้อน
กระดูกและเน้ือเยื่อตาย
กระทบต่อ physis ทำให้กระดูกส่วนนั้นสั้น มีการโก่งผอดรูปของกระดูก อาจต้องผ่าตัดเพื่อยืดกระดูกให้ยาวขึ้น
ข้ออักเสบติดเชื้อ
(septic arthritis)
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู่ข้อ เชื้อที่เป็นสาเหตุส่วนใหญ่ เช่น แบคทีเรีย
จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ หรือแพร่กระจายจากบริเวณ ใกล้เคียง
จากการแพร่เชื้อโรคจากกระแสเลือด
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิค
ผล Lab
การตรวจทางรังสี
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด ได้แก่ Arthrotomyanddrainage
ภาวะแทรกซ้อน
Growthplate ถูกทำลายทำให้การเจริญเติบโตตามความยาวกระดูก และการทำหน้าที่เสียไป
ข้อเคลื่อน (Dislocation)
ข้อถูกทำลาย (jointdestruction)
หัวกระดูกข้อสะโพกตายจากการขาดเลือด (avascularnecrosis)
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ จากการไอ จาม ของผู้ป่วย
เชื้อเจริญเติบโตและแพร่กระจายผ่านทาง lympho- hematogenous spread ยังอวัยวะต่าง ๆ
ถูกระบบภูมิต้านทานของร่างกายทำลายแต่อาจมีเชื้อบางส่วนท่ีอยู่ตามอวัยวะต่าง ๆ
อาการและอาการแสดง
วัณโรคกระดูกและข้อในเด็ก อาการจะเริ่มแสดงหลังการติดเชื้อประมาณ 1 – 3 ปีที่กระดูก
โรคเริ่มท่ี metaphysis ของ long bone ซึ่งมีเลือดมาเลี้ยงมากอาจเป็นตำแหน่งเดียวหรือมากกว่า
กระดูกสันหลังเชื้อจะเข้าทางท่อนำเหลืองจากต่อมน้ำเหลืองข้างกระดูกสันหลัง หรือระบบไหลเวียนเลือด
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด การตรวจชิ้นเน้ือ การการผ่าตัดระบายหนอง ผ่าตัด เพื่อแก้การกดทับเส้นประสาท
อาการแทรกซ้อนทางกระดูกและข้อ
กระดูกสันหลังค่อม หรืออาการกดประสาทไขสันหลังจนอ่อน
แรงหรือเป็นอัมพาต (Pott’s paraplegia)
ปวดข้อ ผิวข้อขรุขระ
ข้อเสื่อม ข้อยึดติด พิการ
Club Foot
(เท้าปุก)
สาเหตุ
ยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชัดอาจเกิดจาก gene และปัจจัยส่งเสริม
แบบทราบสาเหตุ
positional clubfoot
teratologoc clubfoot
neuromuscularclubfoot
แบบไม่ทราบสาเหตุ (ideopathic clubfoot) หรือ Ideopatic Talipes EquinoVarus (ITCEV)
พยาธิสภาพ
เริ่มตั้งแต่ระยะสร้างกระดูกเท้ากลไกการสร้าง Catilage anlage ที่เป็นเน้ือเยื่อต้นแบบของกระดูกเท้าผิดปกติ (primarygermplasmdefect)
ความสัมพันธ์ของกระดูกในเท้าผิดปกติ
รูปร่าง และขนาดจะบิดผิดรูปไปจากเท้าปกติ โดยเฉพาะกระดูก talus, calcaneus, navicular และ cuboid bone
Joint capsule และ Ligament : จะหดสั้นแข็ง
Tendon และ Muscle : เอ็น และกล้ามเนื้อขาข้างที่มีเท้าปุกจะเล็กกว่าปกติ
Nerve และ Vessel : มีขนาดเล็กกว่าปกติ พบสิ่งผิดปกติได้บ่อยกว่า
การักษา
การดัดและใส่เฝือก
การผ่าตัด
การผ่าตัดกระดูก (osteotomy)
การผ่าตัดเช่ือมข้อกระดูก (triple fusion)
การผ่าตัดเนื้อเยื่อ (subtalar soft tissue release)
ฝ่าเท้าแบน
(Flat feet)
อาการ
อาการข้ึนกับความรุนแรงของความแบนราบ
ผู้ป่วยอาจจะมีตาปลา หรือผิวหนังฝ่าเท้าจะหนาผิดปกติ
รองเท้าผู้ป่วยจะสึกเร็ว
ปวดฝ่าเท้า
ในรายท่ีแบนรุนแรงผู้ป่วยจะมีอาการปวดน่องเข่าและปวดสะโพก
สาเหตุ
เป็นพันธุกรรมในครอบครัว
เกิดจากการเดินที่ผิดปกติ
โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
เกิดจากเอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาจจะใช้ ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
Cerebral Palsy
สาเหตุของโรค
ก่อนคลอด
อาจมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ
มารดาเป็นโรคแทรกซ้อนขณะต้ังครรภ์ ได้แก่ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับมารดาขณะต้ังครรภ์
ระหว่างคลอด/ หลังคลอด
ปัญหาระหว่างคลอด : คลอดยาก, สมองกระทบกระเทือน, ขาดออกซิเจน, ทารกคลอดก่อนกำหนด
โดยปกตินั้นเด็กแรกเกิดเน้ือสมองจะยังเจริญเติบโตไม่สมบูรณ์ต้องอาศัยระยะเวลาประมาณ 6 ปี ระบบประสาทส่วนต่างๆ จึงทำงานโดยสมบูรณ์
ช่วงอายุ 2 ปีแรกนั้นถือเป็นช่วงท่ีมีอัตราการเจริญที่รวดเร็วเกือบ 80%ของทั้งหมด
จำแนกโดยลักาณะการเคลื่อนไหว
Spastic CP (spastic cerebral palsy)
(จะมีอาการกล้ามเนื้อเกร็งแน่น)
Hemiplegia
Double hemiplegia
Quadriplegia
Diplegia
อื่น ๆ เช่น monoplegia, paraplegia, triplegia
การรักษา
ลดความเกร็ง
ป้องกันความผิดรูปของข้อต่างๆ โดยใช้วิธีทาง
กายภาพบำบัด (PhysicalTherapy)
อรรถบำบัด (Speech and Language Therapy)
การผ่าตัด
การรักษาด้านอื่นๆ
การให้การดูแลรวมถึงให้กำลังใจ
Ataxic CP
(กล้ามเนื้อจะยืดหดอย่างไม่เป็นระบบระเบียบ)
Athetoid CP
(มีอาการกล้ามเนื้อไม่ประสานกัน)
Mixed CP
(เป็นการผสมผสานลักษณะทั้งสาม)
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
น้ำหนักลด
มีไข้
การเคลื่อนไหวของตำแหน่งที่เป็นผิดปกติ
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้น
การรักษา
การผ่าตัด
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
การพยาบาล
ไม่สุขสบายจาการปวดแผลผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะเเทรกซ้อนของกระดูกที่ผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะเเทรกซ้อนจากเคมีบำบัดและรังสีรักษา
มีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการรักษาพยาบาล
Omphalocele
ลักษณะทางคลินิก
การตรวจก่อนการคลอด การใช้อัลตราซาวนด์ตรวจทารกในครรภ์มารดาสามารถวินิจฉยัภาวะ omphalocele ได้
ภายหลังคลอดพบบริเวณกลางท้องทารกมีถุง omphalocele ติดอยู่กับผิวหนัง
อวัยวะท่ีอยู่ในถุงอาจประกอบไปด้วย ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ กระเพาะอาหาร ม้าม และตับ
การรักษา
conservative
ทำโดยใช้สารละลายฆ่าเชื้อ (antiseptic solution)
เหมาะสำหรับในรายที่ omphalocele มีขนาดใหญ่
operative
วิธีแรกเป็นการเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย (primary fascial closure)
อีกวิธีเป็นการปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นขั้นตอน (stagedrepair)
primary fascial closure มักจะทำเมื่อ omphalocele มีขนาดเล็ก และมีอวัยวะอยู่ภายในไม่มาก
Gastroschisis
แนวทางการพยาบาล
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด (Nursing preoperative care)
เช็ดทำความสะอาด ลำไส้ส่วนที่สกปรกป้องกันการติดเชื้อ
• การดูแลหลังผ่าตัด
Respiratory distress
: ต้องให้เด็กอยู่ในตู้อบ
Hypoglycemia, Hypocalcemia
: สังเกตว่าเด็กจะมี tremor, cyanosis
Hypothermia
: ใส่ endotrachial tube และให้muscle relaxant 1-2 วันหลังผ่าตัด
General care
Fluid and nutrition support
Peripheral parenteral nutrition
Enteral nutrition
Atibiotic prophylaxis
Wound care