Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดเฉียบพลัน (Precipitate labor), นางสาวสุทัตตา สังข์แก้ว 601001127…
การคลอดเฉียบพลัน
(Precipitate labor)
ความหมาย
ใช้เวลาทั้งหมดในการคลอดประมาณ 2-4ชั่วโมง
มีการเปิดขยายของปากมดลูก
ในระยะปากมดลูกขยายเร็ว 5 ซม./ชม.
ครรภ์แรก
เปิด 1 เซนติเมตร ทุก 12 นาที
ครรภ์หลัง
เปิดมากกว่า 10 ซม./ชม.
หรือเปิด 1 เซนติเมตร ทุก 6 นาที
เป็นการคลอดที่เกิดขึ้นเร็วผิดปกติ
อุบัติการณ์
พบได้ประมาณร้อยละ 2 ของการคลอด
ร้อยละ 93 ผู้คลอดมักจะผ่านการคลอดมาแล้ว
ปัจจัยส่งเสริม
ผู้คลอดที่มีเชิงกรานกว้าง
เคยมีประวัติการคลอดเฉียบพลัน
ผู้คลอดครรภ์หลังอาจมีเชิงกรานช่องคลอดและฝีเย็บหย่อนตัว
ผู้คลอดไม่มีความรู้สึกอยากเบ่ง
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก และกล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกติ
ทารกตัวเล็กหรืออายุครรภ์น้อยกว่ากำหนด
แรงต้านทานของเนื้อเยื่อที่ช่องคลอดไม่ดี
ผู้คลอดที่ไวต่อการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
อาการและอาการแสดง
มดลูกมีการหดรัดตัวอย่างถี่และรุนแรง มากกว่า 5 ครั้งในเวลา 10 นาที
ตรวจภายในพบปากมดลูก
มีการเปิดขยายเร็ว
ครรภ์แรก
ปากมดลูกเปิด 5 เซนติเมตร/ชั่วโมง
ครรภ์หลัง
ปากมดลูกเปิด 10 เซนติเมตร หรือมากกว่า 10 เซนติเมตร/ชั่วโมง
มีอาการเจ็บครรภ์เป็นอย่างมาก
การวินิจฉัย
อัตราการเปิดขยายของปากมดลูกครรภ์แรกและครรภ์หลัง
มีการหดรัดตัวของมดลูกถี่และรุนแรง
ระยะเวลาในการเจ็บครรภ์และคลอดน้อยกว่า 3 ชั่วโมง
ความดันภายในโพรงมดลูกประมาณ 50-70 มิลลิเมตรปรอท
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
ตกเลือดหลังคลอด
อาจเกิดภาวะน้ำคร่ำอุดตัน
มีการติดเชื้อที่แผลฉีกขาด
มดลูกแตกจากมดลูกหดรัดตัวรุนแรง
เนื้อเยื่อบริเวณช่องทางคลอดเกิดการฉีกขาด
เกิดการคั่งของเลือดใต้ชั้นผิวหนังที่ฉีกขาด
อาจเกิดมดลูกปลิ้นเนื่องจากความดันในโพรงมดลูกลดลงอย่างรวดเร็ว
ทารก
อาจมีความผิดปกติของกล้ามเนื้อแขนถูกดึงมากเกินไป
อาจเกิดภาวะขาดออกซิเจน (asphyxia)
อาจเกิดเลือดออกในสมอง
ทารกได้รับบาดเจ็บเนื่องจากการกระทบกระแทกเพราะการช่วยคลอดไม่ทัน
สายสะดือขาดขาดเนื่องจากสายสะดือสั้นหรือรกยังไม่ลอกตัว
ถ้าคลอดออกมาทั้งถุงน้ำคร่ำ ทารกอาจสำลักน้ำคร่ำได้
ทารกอาจเกิดการติดเชื้อเนื่องจากไม่ได้
เตรียมทำความสะอาดก่อนคลอด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ถ้าให้การช่วยเหลือช้า ทารกอาจเกิดภาวะหนาวสั่น
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
และให้ยา methergin หลังคลอดเพื่อ
ป้องกันการตกเลือด
การ c/s ในรายที่มีภาวะมดลูกแตกหรือน้ำคร่ำอุดตัน
ในกระแสเลือดของผู้คลอด
ให้การดูแลตามอาการ
หากคลอดเฉียบพลัน
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
ความไวต่อการเร่งคลอด
ลักษณะอาการเจ็บครรภ์
ประวัติการคลอดเฉียบพลันหรือ
การคลอดเร็วในครรภ์ก่อน
การตรวจร่างกาย
การตรวจภายใน
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ร่วมกับติด EFM
ภาวะจิตสังคม
ประเมินความวิตกกังวล
ประเมินความหวาดกลัวของผู้คลอด
การพยาบาล
มารดาที่มีประวัติการคลอดเร็ว
ประเมินการเปิดขยาย และความบางของปากมดลูกเมื่อมารดาอยากเบ่ง
ย้ายมารดาเข้าห้องคลอดหากมีประวัติคลอดเร็ว
ประเมินและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูก
ให้การดูแลตามอาการ
กรณีที่จะมีภาวะคลอดเฉียบพลัน
ใช้ผ้ากดตรงฝีเย็บแล้วใช้มืออีกข้างกดศีรษะทารกให้ก้มลง
หาทารกออกมาแล้ว มารดายังไม่หยุดเบ่ง ให้กางขามารดาออก
กระตุ้นให้มารดาใช้เทคนิคการหายใจแบบตื้นๆ เร็วๆ เบา ๆ
จับให้ทารกนอนศีรษะต่ำ ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่งแล้วทำการดูดเสมหะ
ระยะหลังคลอดให้การดูแลอย่างใกล้ชิด
ถ้ามีการฉีกขาดของช่องทางคลอด
แนะนำการรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์และให้ยา Antibiotic เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ข้อวินิจฉัย
3.ทารกอาจได้รับอันตรายจากการคลอดเฉียบพลัน
4.อาจเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดจากการคลอดเฉียบพลัน
2.เจ็บครรภ์มาก เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวแรงและถี่มาก
5.วิตกกังวล/กลัวอันตรายที่จะเกิดขึ้น เนื่องจากการคลอดเฉียบพลัน
1.ช่องทางคลอดมีโอกาสฉีกขาดมากผิดปกติ เนื่องจากการคลอดเฉียบพลัน
นางสาวสุทัตตา สังข์แก้ว
601001127