Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 ภาววะผู้นำทางการพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่4 ภาววะผู้นำทางการพยาบาล
ความหมาย
ผู้นำ(leader)
ผู้มีความสามารถและศิลปะจูงใจให้ผู้อื่นคิดตามหรือปฏิบัติตาม
ความเป็นผู้นำ(leadership)
กระบวนการจูงใจให้กลุ่มหรืองค์การปฏิบัติตามเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของกลุ่มหรือองค์การนั้น
ผู้นำและผู้บริหาร
การนำ
เป็นส่วนหนึ่งของการบริหาร คือการวางแผน การจัดองค์การ การนำและควบคุมงานของคนอื่นเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ
ทฤษฎีทางผู้นำ
Behavioral Theory ทฤษฎีเชิงพฤติกรรม
การศึกษาพฤติกรรมผู้นำของมหาวิทยาลัยแห่งโอไฮโอ
พฤติกรรมริเริ่ม(initiating structure)
ชอบกำหมดบทบาทตนเองและผู้ใต้บังคับบัญชา จะออกคำสั่ง วางแผน กำหนดวิธีการทำงานและวันเวลาที่งานจะเสร็จ จึงเป็น
ผู้นำที่มุ่งผลสำเร็จของงาน
พฤติกรรมคำนึงถึงผู้อื่น (consideration)
ให้ความไว้วางใจผู้ใต้บังคับบัญชามีความเป็นมิตรและให้โอกาสพนักงาน มีส่วนร่วม
จึงมีความพึงพณ์ใจในงาน
ㆍ การวิจัพบว่ : รูปแบบที่ดีที่สุดของพฤติกรรมผู้นำคือ
ควรมี initiating และ consideration สูงทั้ง 2 อย่าง
จะทำให้เกิดผลสำเร็ของงานและผู้ปฏิบัติงานมีความพึงพอใจในงานด้วย
การศึกษาพฤติกรรมผู้นำของมหาวิทยาลัยมิชิแกน
พฤติกรรมมุ่งคน (Employee Oriented)
เน้นความสัมพันธ์ที่ดีกับพนักงาน สนใจและยอมรับความคิดเห็นของพนักงาน ดูแลช่วยเหลือพนักงานเป็นอย่างดี
สรุป พฤติกรรมมุ่งคน
ผู้ตามมีขวัญและกำลังใจในการทำงานสูงกว่าผู้บริหารที่มีพฤติกรรมมุ่งงาน
พฤติกรรมมุ่งงาน (Production Oriented)
เน้นวิธีการปฏิบัติงานและผลงานที่จะได้ โดยมองคนหรือพนักงานเป็นเพียงเครื่องมือที่จะทำให้เกิดผลงาน
การศึกษาพฤติกรรมผู้นำของมหาวิทยาลัยไอโอวา
ผู้นำแบบอัตาธิปไตย(Autocratic leaders)
เผด็จการ เน้นการใช้อำนาจตำแหน่ง ชอบออกคำสั่ง เป็นผู้กำหนดจุดมุ่งหมาย สั่งการทุกอย่างด้วยตนอง ไม่ชอบให้ผู้ใต้บังคับบัญชาร่วมแสดงความคิดเห็น
จุดเด่น
: เหมาะในสถนการณ์ที่ต้องการความรวดเร็ว ใช้กับบุคคลที่ไม่ต้องการจะรับผิดชอบใด ๆ
จุดอ่อน
: ลดโอกาสการได้ใช้ความรู้ ความเชี่ยวชาญของผู้ตามในการวางแผน และการตัดสินใจ
ผู้นำแบบประชาธิปไตย (Democratic Style)
ให้อำนาจผู้ตามในการตัดสินใจในขอบเขต แต่ผู้นำยังคงต้องรับผิดชอบในรื่องนั้น ๆ เป็นการบริหารแบบการให้มีส่วนร่วม ซึ่ง
การสื่อสารจะเป็นแบบสองทาง
คือ จากผู้นำไปสู่ผู้ตาม และจากผู้ตามไปสู่ผู้นำ
จุดเด่น
: ผู้ตามมีส่วนร่วม เพิ่มความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์การ
จุดอ่อน
: อาจทำให้ไม่สามารถตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว
ผู้นำแบบเสรีนิยม (Laissez fair Style)
จุดเด่น
: ทำให้ผู้ตามได้ดูแลตนเอง มีอิสระในการทำสิ่งต่าง ๆ
จุดอ่อน :
ขาดเป้หมายและทิศทางของกลุ่
ให้อำนาจและความรับผิดชอบทั้งหมดแก่ผู้ตาม ผู้ใดอยากจะทำไรก็สามารถทำได้ ตามใจซอน ผู้นำจะวางตัวอยู่เหนือปัญหา ดังนั้น
การ
สื่อสารส่วนใหญ่จึงเกิดในแนวนอน
คือระหว่างผู้ตามกันเอง
Managerial Grid of Leadership Theory
2 แบบมิตรภาพสังสรรค์ (country club)
(1,9) เน้นความเป็นมิตรและความพึงพอใจของสมาชิก ทำหน้าที่ตัดสินใจและแก้ปัญหาต่างๆ สร้างบรรยากาศแห่งมิตรภาพ
สนใจกิจกรรมทางสังคมมากกว่าที่จะมุ่งผลงานจริง
3 แบนเน้นงาน (task)
(9,1)
ให้ความสำคัญผลงานเป็นหลัก ไม่สนใจความสู้สึกของสมาชิก
ดำเนินการวางแผนและตัตสินใจเอง สร้างบรรยากาศแพ้ - ชนะ ข่มขู่สมาชิกให้ทำงานและให้ผลป้อนกลับในทางลบ ทำให้สมาชิกต่อต้านองค์การและหาทางทำลายองค์การ
1. แบบเรื่อยเฉือย (impoverished)
(1,1) ไม่สนใจผลสำเร็จของงาน ไม่กระตุ้นจูงใจสมาชิก หลึกเลี่ยงการตัดสินใจ ไม่มีข้อมูลป้อนกลับการทำงาน สร้างบรรยากาศแบบเฉือยชา
4 ผู้นำแบบเดินสายกลาง(middte of the road)
(5.5) ตัดสินใจด้วยการโหวต ให้ความสำคัญทั้งงานและคนในระดับปานกลาง ให้ผลป้อนกลับแบบไม่จริงจัง จำกัดความคิดสร้างสรรค์ของสมาชิก
ทำงานเพื่อรักษาสภาพการณ์ให้ปกติเท่านั้น
5 แบบทำงานเป็นทีม (team)
(9,9)
เปิดโอกาสให้สมาชิกเข้ามามีส่วนร่วมแก้ปัญหาและข้อขัดแย้ง
ร่วมกำหนดวัตถุประสงค์ สร้างบรรยากาศบนพื้นฐานของการยอมรับเชื่อถือและศรัทธราซึ่งกันและกัน ป้อนกลับด้วยการประเมินอย่างมีเหตุผล
Trait Theory ทฤษฎีคุณลักษณะ
ศึกษาจากบุคลิกภาพผู้นำโดยตรง
คุณลักษณะผู้นำไม่ได้ติดตัวมาแต่กำเนิดเกิดขึ้นโดยการเรียนรู้และจากประสบการณ์
คุณลักษณะที่สำคัญที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับภาวะผู้นำที่มีประสิทธิผล
ความมีมนุษยสัมพันธ์
วุฒิภาวะทางสังคม
ความเฉลียวฉลาด
แรงจูงใจภายในและแรงขับด้านความสำเร็จ
3.ทฤษฎีผู้นำเชิงสถานการณ์
Contingency leadership Theory
2 Fiedler's Contingency Leadership Theory
ภาวะผู้นำตามสถานการณ์ของ Fiedler แบ่งผู้นำออกเป็น 2 แบบ
ผู้นำแบบมุ่งงาน (Task- Oriented)
ผู้นำแบบมุ่งสัมพันธ์ (Relationship -Oriented)
สถานการณ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพความเป็นผู้นำ
Task Structure :
โครงสร้างของงาน หากจัดโครงสร้าง และการแบ่งงานชัดเจนถือว่ามีความแน่นอนสูง (high) แต่หากไม่ชัดเจนถือว่ามีความแน่นอนตำ (low)
Position Power
:อำนาจจากตำแหน่งของผู้นำที่เป็นทางการที่องค์การกำหนดไว้ ถ้ากำหนดไว้มาก ก็มีอิทธิพลต่อบุคคลอื่นมาก(strong) แต่ถ้าอำนาจของผู้นำไม่สามารถจัดการผู้ตามได้ถือว่าอ่อนแอ (weak)
Leadership-Member Relations :
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำกับผู้ปฏิบัติงาน หากทั้งสองฝ่ายเชื่อมั่น ไว้ใจและเคารพต่อกันถือว่า ความสัมพันธ์ดี(good) หากตรงกันข้ามถือว่ ไม่ดี (poor)
3.3 Path Goal Theory
แบ่งผู้นำเป็น 4 แบบ
2. ผู้นำแบบสนับสนุน (Supportive
Leader Behavior)
ให้ความเป็นมิตรมีการจัดสวัสดิการแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาและให้ความเป็นธรรมกับทุกคน
3. ผู้นำเบบมีส่วนร่วม (Participative
Leader Behavior)
ให้คำปรึกษาที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาและเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้เข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
1. ผู้นำเบบชี้นำ (Directive Leader
Behavior)
ใช้อำนาจ ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาในสิ่งที่ตนเองคาดหวัง มีการกำหนดแนวทางและชี้นำ แลกำหนดตารางการทำงาน
4. ผู้นำเบบมุ่งความสำเร็จ(Achievement-Oriented
Leader)
ตั้งเป้าหมายที่ท้าและคาดหวังว่าผู้ใต้บังคับบัญชาจะปฏิบัติงานได้ในระดับสูงเชื่อมั่นในผู้ใต้บังคับบัญชา
1.Hersey and Blanchard theory
. ผู้นำจะประสบผลสำเร็จในการนำย่อมขึ้นอยู่กับการเลือกใช้แบบผู้นำของตนหมาะสมกับความพร้อมในการทำงานของผู้ตาม
วุฒิภาวะของผู้ตาม
R2-เต็มใจรับผิดชอบงาน แต่ไม่มีความสามารถรับผิดชอบ
R3 - มีความสามารถในการรับผิดชอบ แต่ไม่เต็มใจรับผิดชอบ
R4 -เต็มใจรับผิดชอบงานและมีความสามารถรับผิดชอบ
R1 -ไม่เต็มใจรับผิดชอบงาน และไม่มีความสามารถรับผิดชอบงาน
LEADER BEHAVIOR
S2 -ผู้นำแบบขายความคิด (seling)
ผู้นำยังใช้การสั่งการ พยายามใช้การสื่อสารสองทาง ใช้หลักชักสังคมวิทยาในการโน้มน้าวจูงใจให้ผู้อื่นคล้อยตามในการตัดสินใจ
เหมาะกับR2
S3-ผู้นำแบบมีส่วนร่วม (participatng)
ผู้นำที่ให้ผู้ตามมีส่วนร่วมในการตัตสินใจเต็มที่ มีการปรึกษาหารือ การวางแผน และแก้ปัญหาร่วมกัน
เหมาะกับR3
S1 -ผู้นำแบบสั่งการ (tellng)
ผู้นำชอบสั่งการและบงการให้ผู้อื่นทำตาม มีการตัดสินใจด้วยตนอง และใช้การสื่อสารทางเดียว
เหมาะกับR1
S4 -ผู้นำแบนกระจายอำนาจ (delegating)
ผู้นำที่กระจายอำนาจและมอบหมายความรับผิดชอบให้ผู้ตามตัดสินใจเลือกวิธีการทำงานด้วยนอง โดยผู้นำจะไม่เข้าไปก้าวก่าย
เหมาะกับR4
ทฤษฎีภาวะผู้นำเชิงเป้าหมาย หรือ
ภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยน และภาวะผู้นำปฏิรูป
ทฤษฎีภาวะผู้นำเชิงเป้าหมาย หรือ
ภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยน
ผู้นำช่วยกำหนดเป้าหมายการทำงาน เมื่อผู้ตามทำได้สำเร็จก็
จะได้รับรางวัลที่ต้องการจากผู้นำ
จะเกิดขึ้นได้เมื่อผู้นำได้เปลี่ยนแปลงบุคลากร 3 วิธีการคือ
บุคลากรต้องรับรู้ว่าตนคือผู้มีความสำคัญต่องานขององค์การ
บุคลากรต้องรับรู้ถึงความต้องการของตนเองเกี่ยวกับการพัฒนาตนเองและการประสบความสำเร็จ
3.ผู้จัดการต้องจูงใจบุคลากรให้ทำงานเพื่อสิ่งที่ดีต่อองค์การโดยส่วนรวม
เป็นรูปแบบที่อยู่บนพื้นฐานของการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้นำ
และผู้ตาม โดยผู้นำจะทำให้ผู้ตามรู้ว่าถูกคาดหวังว่าควรจะทำอะไร เพื่อที่จะได้สิ่งที่ตนต้องการตอบแทน
ภาวะผู้นำแบบปฏิรูป Transformational leadership
คล้าย
กับภวะผู้นำเชิงเป้าหมาย
ต่างกันตรงที่
รางวัลที่เกิดขึ้นนั้น เกิดขึ้นเองจากภายในของผู้ตามเช่นความรู้สึกภาคภูมีใจที่ได้ทำงานนั้นสำเร็จ
โดยผู้นำไม่ได้ให้รงวัลจากภายนอกเป็นการตอบแทน
ผู้นำมีอิทธิพลเหนือผู้ตามเพราะผู้ตามมีใจอยากทำงานจาก
ความรู้สึก ชื่นชม เคารพนับถือ และความรู้สึกที่ดีต่อผู้นำ
คุณลักษณะภาวะผู้นำทางการพยาบาล
2 มีบุคลิกภาพและมีความคิดที่ดี
1) การอุทิศตนและเสียสละการให้และ สร้งประโยชน์เพื่อส่วนรวม
2มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
3มีความคิดดีและเข้าใจผู้อื่น
4มีคุณธรรมจริยธรรม
5มีความมุ่งมั่นความศรัทธาในสิ่งที่ทำ
6มีวัยวุฒิที่ เหมาะสม
7มีความอดทนสูง
8มีการดำเนินชีวิต แนววิถีพุทธศาสนาและแนวคิดปรัชญาศรษฐกิจแบบพอเพียง
3.มีความสามารถสูง
1ความสามารถด้านบริหารจัดการ
2 ภารก้าวทันเทคโนโลยีและสารสนเทศ
3การทำงานเป็นที่ม/สร้างทีม/เครือข่าย
4มีทักษะการฟังที่ดี
1. มีสติปัญญาและความเชี่ยวชาญ
เป็นผู้ไฝ่รู้ รอบรู้มีการพัฒนาตนองด้านการศึกษา เรียนรู้อยู่ตลอดเวลา เกิดทัษะการปฏิบัติงานจนเกิดความเชี่ยวชาญในงาน มีการพัฒนางานคุณภาพ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในองค์กรวิชาชีพและ
เครือข่ายสุขภาพทั้งในและนอกประเทศอย่างต่อเนื่อง
1) มีการเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา
2) การได้รับเกียรติและการยอมรับจากวิชาชีพอื่น
3) เป็นผู้นำที่มีวิสัยทัศน์
4) ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
5) การใช้ความรู้เพื่อถ่ายทอดแก่บุคลากรและต่อยอดเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้