Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะน้้าคร่ำอุดกั้นหลอดเลอืดในปอด (Amniotic fluid embolism/AFE), download…
ภาวะน้้าคร่ำอุดกั้นหลอดเลอืดในปอด (Amniotic fluid embolism/AFE)
ความหมาย
ภาวะที่มีน้้ำคร่่ำ ผ่านเข้าสู่กระแสเลือดของมารดา ซึ่งจะเข้าไปในหลอดลมฝอยในปอด แล้วไปอุดกั้นบริเวณหลอดเลือดดำที่ปอดทำให้ร่างกายเกิดปฏิกิริยาต่อต้านสารประกอบน้้ำคร่่ำ
ภาวะความดันโลหิตต่่ำ (hypotension) อย่างทันทีทันใด
ภาวะความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด (consumptive coagulopathy)
ภาวะขาดออกซิเจน (hypoxia)
อุบัติการณ์
พบได้น้อยมากประมาณ 1 : 20,000 ของการคลอดทั้งหมด
ปัจจัยส่งเสริม
การคลอดเฉียบพลัน ,รกเกาะต่่ำ
รกลอกตัวก่อนกำหนด,มดลูกแตก
ทารกตายในครรภ์ เป็นเวลานาน ทำให้มีการเปื่อยยุ่ย ขาดง่าย
การบาดเจ็บในช่องท้อง,การผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
การเร่งคลอด โดยการใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
มารดามีบุตรหลายคน,มารดาตั้งครรภ์หลังที่มีอายุมากกว่า 35 ปี
การเบ่งคลอดขณะถุงน้ำคร่่ำยังไม่แตก,การเจาะถุงน้้ำคร่่ำ
การรูดเพื่อเปิดขยายปากมดลูก
การตรวจวินิจฉัยน้้ำคร่ำก่อนคลอด
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกภายในและภายนอกครรภ์
พยาธิสรีรวิทยา
ส่วนประกอบของน้้ำคร่่ำจะเข้าสู่ระบบไหลเวียน เลือดของผู้คลอด ผ่านเข้าสู่หัวใจและปอด ท าให้เกิดการอุดตันในหลอดเลือดฝอยในปอด ทำให้หลอดเลือดเกิด การหดเกร็ง เลือดที่ไหลผ่านปอดมาสู่หัวใจซีกซ้ายลดลงทันทีทันใด ทำให้เลือดที่จะถูกบีบออกจากหัวใจข้าง ซ้ายลดลงทันที เกิดภาวะช็อคจากหัวใจ (cardiogenic shock) ความดันในหลอดเลือดปอดสูงขึ้น เกิดเลือดคั่ง ในปอด ส่งผลให้หัวใจซีกขวาไม่สามารถบีบตัวดันเลือดให้ผ่านปอดได้
อาการและอาการแสดง
เกิดภาวะน้ำคั่งในปอด (pulmonary edema)
เส้นเลือดที่หัวใจตีบ
หายใจลำบาก (dyspnea) เกิดภาวะหายใจล้มเหลวทันทีทันใด เขียวตามใบหน้า และลำตัว (cyanosis)
ความดันโลหิตต่่ำมาก (low blood pressure)
คลื่นไส้ อาเจียน วิตกกังวล
ชัก
เหงื่อออกมาก
หมดสติ (Unconscious) และเสียชีวิตในเวลาต่อมา
มีอาการหนาวสั่น (chill)
ถ้าเกิดอาการนานกว่า 1 ชั่วโมง ผู้คลอดยังมีชีวิตอยู่จะเกิดภาวะกลไกการเข็งตัวของเลือดเสีย ไป และเกิดอาการตกเลือดอย่างรุนแรง หากไม่ได้รับการแก้ไขภาวะการหดรัดตัวของมดลูกที่ดีพอ
การวินิจฉัย
การวินิจฉัยจากอาการและอาการแสดง ที่สำคัญ 5 อย่าง คือ
1.3 เส้นเลือดหัวใจหดเกร็ง (cardiovascular collapse)
1.4 เลือดออก
1.2 อาการเขียว
1.5 ไม่รู้สติ
1.1 ระบบหายใจล้มเหลว (respiratory distress)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
2.3 การตรวจคลื่นไฟฟูาหัวใจ (ECG) จะพบลักษณะ tachycardia STและ T wave เปลี่ยนแปลง และ มี RV strainได้
2.4 ตรวจการไหลเวียนของเลือดในปอดอาจพบความบกพร่องในการกำซาบ (perfusion defect) ได้
2.2 การถ่ายภาพรังสีทรวงอก
2.5 การตรวจหา Sialy 1TH antigen จะพบมีระดับสูงขึ้นในน้ำคร่่ำที่มีขี้เทาปนเปื้อน
2.1 การตรวจหาเซลล์ผิวหนัง ขนอ่อน (lanugo hair) เมือกของทารกหรือเซลล์จากรก (fetal squamous cell, fetal debris, trophoblasts) ซึ่งต้องอาศัยการย้อมสีพิเศษโดยตรวจได้จาก
2.1.2 เลือดจากกระแสเลือดไปปอดของมารดา หรือจากในสายของซีวีพี (CVP line)
2.1.3 เสมหะ
2.1.1 การชันสูตรศพ (autopsy) พบได้ร้อยละ 75
ผลกระทบต่อมารดา
ทำให้ผู้คลอดเสียชีวิตจากการเสียเลือด Shock ถ้ามี ผู้รอดชีวิตมักมีอาการทางระบบประสาท เนื่องจากมีภาวะขาดออกซิเจนรุนแรง
ผลกระทบต่อทารก
โอกาสรอดของทารกมีค่อนข้างน้อย โดยทั่วไปโอกาสรอด ของทารกมีประมาณร้อยละ 70 แต่เกือบครึ่งของทารกที่รอดชีวิตจะมีภาวะบกพร่องทางระบบประสาท
การป้องกัน
การกระตุ้นการเจ็บครรภ์ ในรายที่เด็กตายในครรภ์โดยใช้ Oxytocin drip ควรทำอย่างระมัดระวัง
ไม่ควรกระตุ้นการเจ็บครรภ์โดยวิธีเลาะแยกเยื่อถุงน้้ำคร่ำ
การเจาะถุงน้้ำควรทำอย่างระมัดระวังเนื่องจากจะท าให้เส้นเลือดที่ปากมดลูก ฉีกขาดและจะทำให้น้้ำคร่่ำพลัดเข้าสู่กระแสเลือดได้
ในรายที่มีภาวะรกเกาะต่่ำ การตรวจภายในควรจะกระทำอย่างระมัดระวัง
ขณะเจ็บครรภ์คลอด ไม่ควรเร่งให้มดลูกหดรัดตัวถี่เกินไป
ถ้าผู้คลอดเจ็บครรภ์ถี่มากเกินกำหนด ผู้คลอดพักได้น้อย ควรรายงานแพทย์เวรทราบทุกครั้ง
การรักษา
ถ้าทารกยังไม่คลอด ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารก
เตรียมยาในการช่วยชีวิตผู้คลอดถ้ามีความดันโลหิตต่่ำ
ดูแลการหดรัดตัวของมดลูก โดยให้ยา oxytocin หรือ methergin ทางหลอดเลือดดำ
เจาะเลือดเพื่อประเมินความเข้มข้นของเลือดและการแข็งตัวของเลือด
ดูแลระบบการไหลเวียนเลือด เพื่อแก้ไขภาวะความดันโลหิตต่่ำ
รักษาภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ (DIC) โดยให้ยา Heparin
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งโดยจัดให้นอน Fowler ‘ s position ให้ออกซิเจน 100%
ประเมินการเสียเลือดทางช่องคลอด
การพยาบาล
เฝูาระวังอย่างใกล้ชิด โดยคำนึงถึงปัจจัยที่ก่อให้เกิดภาวะน้ าคร่่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอดซึ่ง มักจะพบได้ในระยะของการคลอดและทันทีหลังคลอด
ถ้ามีอาการและอาการแสดง คือ มีภาวะชักเกร็งโดยไม่มีภาวะความดันโลหิตสูงมาก่อนมี ภาวะเขียวทั่วทั้งตัว หรือเริ่มเขียวเป็นบางส่วนของร่างกาย ควรปฏิบัติดังนี้
2.3 ให้สารน้้ำและเลือดตามแผนการรักษา
2.4 เฝูาระวังการเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
2.2 ให้ออกซิเจน
2.5 สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก
2.1 จัดให้มารดานอนในท่า fowler
2.6 เตรียมช่วยเหลือการคลอดโดยคีมหรือผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
2.7 เตรียมช่วยฟื้นคืนชีพ ในรายที่เกิดหัวใจล้มเหลว (cardiac arrest)
2.8 ใช้เครื่องช่วยหายใจใน 2-3 วันแรก ภายใต้การดูแลในหน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก
2.9 ดูแลและให้กำลังใจต่อครอบครัว ถ้ามารดาและทารกเสียชีวิต
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้ำคร่่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด เนื่องจากมีปัจจัยที่ก่อให้เกิดภาวะน้้ำคร่่ำอุด กั้นหลอดเลือดในปอด
เสี่ยงต่อการตกเลือดอย่างรุนแรงและเกิดภาวะช็อก เนื่องจากการขาดกลไกการแข็งตัวของเลือด และมดลูกไม่หดรัดตัว
เกิดภาวะขาดออกซิเจนทั้งมารดาและทารก เนื่องจากการหดรัดเกร็งของหลอดเลือดที่ปอดมารดา
นางสาวนัทฐธิดา ด้วงทองกุล รหัส 601001060