Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก 👦🏻 - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก 👦🏻
กระดูกหัก
ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง
สาเหตุ
• หรือจากการกระตุ้นทางอ้อมเช่น หกล้ม เอามือยันพื้น
กระดูกฝ่ามือไม่แตกกลับไปแตกบริเวณเหนือข้อมือ
• มักเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุน้ามาก่อนมีแรงกระแทกบริเวกระดูกโดยตรงเช่น ถูกตี รถชน
อาการและอาการแสดง
1.มีอาการปวดและกดเจ็บ
2.บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
3.รอยจ้ำเขียว
4.อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การติดของกระดูกเด็ก
• สิ่งที่สร้างขึ้นมา ประสานรอยร้าวหรือรอยแตกของกระดูก
กระดูกและข้อเคลื่อนในเด็กส่วนใหญ่รักษารักษาโดยไม่ผ่าตัด ยกเว้น
• กระดูกมีแผลเปิด (open fracture)
• กระดูกหักผ่านข้อ
• กระดูกหักในเด็กตามการแบ่งของ Salter ชนิด Ш , ІV
• กระดูกหักจากการหดตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ
• ข้อเคลื่อนที่มีชั้นกระดูกติดอยู่ในข้อ
• กระดูกคอฟีเมอร์หักและเคลื่อน(displaced
• ข้อเคลื่อนที่ไม่สามารถจัดเข้าที่ได้โดยไม่ผ่าตัด
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ อุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
การตรวจร่างกาย
การตรวจพบทางรังสี
การรักษา
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับ กระดูกหักนั้นๆ
เป้าหมายการรักษา
3.1 ในระยะแรกจะมุ่งลดความเจ็บปวด
• จัดกระดูกให้เข้าที่และดามกระดูกให้มีแนวกระดูก
• ให้กระดูกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว
• ให้อวัยวะนั้นกลับท างานได้เร็วที่สุด
กระดูกหักที่พบบ่อย
1. กระดูกไหปลาร้าหัก
• อาการและอาการแสดง
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
Crepitus คล้าได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
• การรักษา
ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็ก
ในเด็กอายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขน
2. กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
• ในทารกแรกเกิด
มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่
• ส่วนในเด็กโต อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง
3. กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture )
• พบบ่อยในเด็กเพราะเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย
• พบบ่อยในเด็กวัยก่อนเรียนและวัยเรียน โรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น “ Volkman’s ischemiccontracture
4. การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียสเป็ นการเคลื่อนที่ของหัวกระดูกเรเดียส ออกมาจากข้อ radio-humeral ไม่หมด
5.กระดูกปลายแขนหักพบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ่น
6. กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur )พบได้ทุก
วัย โดยเฉพาะอายุ 2 - 3 ปี ส่วนมากจะเกิดกับเด็กชาย
7.ภยันตรายต่อข่ายประสาท
• สาเหตุ เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด
• การวินิจฉัย จากการสังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
• การรักษา ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่
จ้าเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาล
การพยาบาลผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
1.ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
2.การประเมินระดับความเจ็บปวดโดยใช้ pain scale
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด
• ประเมินการไหลเวียนของอวัยวะส่วนปลาย
• จัดท่าเด็กโดยยกส่วนที่ท้าผ่าตัดให้สูงกว่าระดับหัวใจ
• การทำแผล จะเปิดท้าแผลทุกวันหรือไม่เปิดท้าแผลเลย
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักบาดเจ็บเพิ่ม
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
• เข้าเฝือกปูน
ประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือกภายใน 24 ชั่วโมง
การจัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
• ดึงกระดูก( traction)
จะต้องไม่เอาน้ำหนักออก หรือถอด traction เองจนกว่าแพทย์สั่ง
จัดท่านอนของเด็กให้ถูกต้องตามชนิดของ Traction
การดูแลให้การดึงกระดูกมีประสิทธิภาพตลอด
ดูแลแรงดึงสมดุลเพียงพอกับน้ำหนักผู้ป่วย
ขณะดึงกระดูกควรจัดท่านอนของเด็กให้ถูกต้องตามชนิดของ
สังเกตการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย
รายที่ทำ Skeletal Traction ต้องสังเกตอาการติดเชื้อบริเวณที่เหล็กดึงกระดูก
ชนิดของ Traction ที่ใช้รักษากระดูกหักในเด็ก
: Bryant’s traction
: Over Head traction
: Dunlop’s traction
: Skin traction
: Russell’s traction
• ผ่าตัดท้า ( ORIF )
การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
1.ด้านร่างกาย
การเตรียมผิวหนังเฉพาะที่
การดูแลความสะอาดของร่างกาย อาบน้ำแปรงฟัน
การตรวจวัดสัญญาณชีพ
4.การประเมินอาการของระบบประสาท
5.การให้สารน้eทางหลอดเลือดดำ
ด้านจิตใจ
สภาพแวดล้อมภายในห้องผ่าตัด
ขั้นตอนในการผ่าตัดโดยสังเขป
การปฏิบัติตัวภายหลังได้รับยาระงับความรู้สึก
การไออย่างมีประสิทธิภาพ
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการจำกัดความเคลื่อนไหว
ป้องกันและลดอาการข้อติดแข็งและกล้ามเนื้อลีบ
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ
ลดอาการท้องผูกด้วยการกระตุ้นให้เด็กมีการ
เคลื่อนไหว
ช่วยให้ปอดขยายตัวเต็มที่ด้วยการกระตุ้นให้เด็กหายใจเข้าออกลึกๆแรงๆ
ประเมินอาการและอาการเกิดภาวะแทรกซ่้อน
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูก
เนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อ
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่จะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
ท้าความสะอาดบาดแผลก่อนการเข้าเฝือกที่ด้วยการชะล้าง
การพยาบาลเพื่อลดความ เครียดวิตกกังวลเมื่อ
เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ประเมินสภาพความต้องการทางด้านจิตใจ
สร้างความมั่นใจและความรู้สึกที่ดีแก่เด็กและญาติ
จัดกิจจกรรมหรือเปิดโอกาสให้เด็กและญาติให้มีการระบายออก
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆแต่ต้องประเมินความเจ็บปวด
การพยาบาลเพื่อบรรเทาปวด
• ประเมินระดับอาการปวดของผู้ป่วย
• จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
• ตรวจดูว่าเฝือกคับหรือskin traction
• ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆ
• กรณีเด็กได้รับการผ่าตัด อาจมีการรัดโดยสำลีพันเฝือกบริเวณข้อศอก
• ผู้ป่วยที่ได้รับการยึดด้วย Kirschner wire ผ่านผิวหนังออกมาข้าง
นอกเพื่อสะดวกในการถอด ต้องหมั่นทำแผลจนกว่าจะถึงเวลาที่ถอด
การพยาบาลเพื่อให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อ
เมื่อกลับบ้าน
• การดูแลแผลผ่าตัด ควรระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำหรือสกปรก
• ห้ามผู้ป่วยและญาติแกะแผลหรือเอาเฝือกออกเอง
• ควรสังเกตอาการผิดปกติที่จำเป็นต้องมาโรงพยาบาลทันที
• ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อให้แผลหายดี
• รักษาสุขภาพ อนามัยให้แข็งแรงอยู่เสมอ
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
ลักษณะรูปร่างของนิ้ว มือ และแขนใน
Volkmann’s ischemic contracture
แขนอยู่ในท่าคว่ำมือ (pronation)
ข้อศอกอาจจะงอ
ข้อมือพับลง (palmar flemion)
ข้อ metacarpophalangeal กระดกขึ้น หรือมี extension
นิ้วจะงอทุกนิ้ว
อาจมีอัมพาต ถ้า median nerve หรือ ulnar nerve ถูกท าลาย
กล้ามเนื้อแขนลีบแข็ง
ข้อเกือบทุกข้อจะแข็ง บางรายอาจจะกระดิกได้
กล้ามเนื้อมือลีบ เหมือนกับมีอัมพาต
โรคแทรกซ้อนชนิดหนึ่ง ที่ท าให้แขน มือ และนิ้วหงิกงอ
ได้แก่ Volkmann’ s ischemic contracture
สาเหต
ปลายกระดูกส่วนบน
เลือดเเข็งจับกันเป็นก้อน
งอพับข้อศอกมากเกินไป
จากการเข้าเฝือก
ระยะต่าง ๆ ของการเกิด Volkmann’s ischemic contracture
แบ่งเป็น 3 ระยะ
• ระยะเริ่มเป็น
ข. เจ็บ และปวด
ค. กางนิ้วออกจากกัน กระดิกไม่ได้
ง. สีของนิ้วจะขาวซีด หรืออาจจะเป็นสีคล้ำ
ก. มีบวมเห็นได้ชัดกี่นิ้ว
จ. มีอาการชา
ฉ. ชีพจรคลำไม่ได้ชัดหรือไม่ได้
• ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อบวมตึงเเข็งมีสำคล้ำ ผิวหนังพองทำให้เกิดการอัดภายในเป็นเหตุให้กล้ามเนื้อถูกสลายตัว
• ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
การหดตัวที่มากขึ้นของกล้ามเนื้อPronatorและflexor ของแขน มือและนิ้วหงิกงอ
วิธีป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าที่
อย่างอศอกมากเกิน
ใช้ slap ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพันด้วยผ้าธรรมดา
แนะนำผู้ป่วยปฏิบัติตัวให้ถูกต้องหลังเข้าเฝือก
• ยกบริเวณที่หักให้อยู่สูงกว่าหัวใจตลอดเวลา
• ถ้ามีอาการบวมและปวดแสดงว่าเฝือกรัด ควรปรึกษาแพทย์
• ปวดบวม ชา ต้องปรึกษาแพทย์ตัดเฝือกทันที
โรคคอเอียงแต่กำเนิด
อาการคลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อคอด้านที่เอียงและค่อยๆยุบลงไป
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ซักประวัติ
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
• การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch)
• การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง (active streth)
• การใช้อุปกรณ์พยุง (orthosis)
• การผ่าตัด
Polydactyly
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษอื่นๆ
อาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลำตัว
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา
ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านหน้า ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน
ปวดเมื่อยหลังคดมาก
เริ่มมีอาการเมื่ออายุน้อย ยิ่งมีความพิการมาก
การรักษา
• ป้องกันไม่ให้เป็นโรคมากขึ้น
• แก้ไขหรือลดความพิการ
• ป้องกันและลดความปวด
• ปรับปรุงสมรรถภาพปอดและหัวใจ
• ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
• ให้กระดูกสันหลังมีความสมดุลแข็งแรง
การพยาบาลบุคคลวัยเด็กที่มีภาวะสันหลังคด(Scoliosis)
แนะนำการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
ดูแลความไม่สุขสบายจากความปวดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลัง
ป้องกันการติดเชื้อที่แผลและเกิดแผลกดทับ
แนะนำการปฏิบัติตัวในการใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว