Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
ความแตกต่างของความผิดปกติทางระบบประสาทในเด็กและผู้ใหญ่
1.1 สาเหตุของการเกิดพยาธิสภาพทางระบบประสาทบางอย่างเกิดขึ้นเฉพาะในเด็กเท่านั้น
1.2อาการและอาการแสดงของโรคหรือภาวะเดียวกันในเด็กและผู้ใหญ่ก็มีความแตกต่างกันได้ เช่น ภาวะ Increased intracranial pressure
การประเมินระบบประสาทในผู้ป่วยเด็ก
2.1 การซักประวัติ
2.2 การตรวจร่างกาย
กะโหลกศีรษะและกระดูกสันหลัง
กล้ามเนื้อและการเคลื่อนไหว
การประเมิน Neurological signs
ระดับความรู้สึกตัว (Level of consciousness)
ง่วงซึม(Drowsiness)
รู้สึกตัวดี (Alert)
กระสับกระส่าย สับสน (Restless or confuse)
ไม่รู้สึกตัว (Coma)
Glasgow coma scale of infant
หลักการพยาบาลได้รับการตรวจทางระบบประสาท
การตรวจนํ้าไขสันหลัง (lumbar Puncture)เพื่อการ
วินิจฉัยดูภาวะการติดเชื้อ
2.การทํา subdural tap เป็นการใช้เข็มเจาะที่บริเวณขม่อมหน้าและช่วยลดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
การตรวจ brain scan เป็นการฉีดสาร radioactive เข้าไปทางเส้นเลือดดําเพื่อหาตําแหน่งของพยาธิสภาพ
การตรวจ computerized tomography (CT Scan)เพื่อแยกแยะ
ความหนาแน่นของเนื้อเยื่อภายในกะโหลกศีรษะ
การตรวจวิธีอื่น เช่น magnetic resonance imagine (MRI)
ภาวะความดันสูงในกะโหลกศีรษะ (Increased intracranial pressure : IICP)
ความหมาย
ภาวะที่มีความดันในกะโหลกศีรษะสูงกว่าปกติซึ่งปกติแล้วความดันโดยเฉลี่ยจะประมาณ 100-160 มิลลิเมตรนํ้า
ที่พบ่อยในเด็ก ได้แก่ เนื้องอกในสมอง,Hydrocephalus ภาวะติดเชื้อเช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
เกิดได้เป็น 2 ลักษณะ
เกิดขึ้นรวดเร็ว
การอุดกั้นทางเดินนํ้าไขสันหลังอย่างทันทีทันใด
Encephalitis และ ภาวะเป็นพิษทั้งหลาย
การตกเลือดในกะโหลกศีรษะ
อาการ ปวดศีรษะ อาเจียนรุนแรง
เกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป
เนื้องอกในสมอง Hydrocephalus ฝีในสมอง
อาการ:ปวดศีรษะ อาเจียน ซึมลง เห็นภาพซ้อน ตามัว Papilledeman
การรักษา
โดยถ้าสมองบวมจะให้ยาพวก steroid, osmotic agents และ diuretics
เนื้องอก ก้อนเลือด ฝีในสมอง หรือสมองบวมแพทย์มักจะไม่เจาะนํ้าไขสันหลังเพราะจะทําให้มี herniation ของสมองได้
การพยาบาล
ประเมินและบันทึกลักษณะและการดําเนินของภาวะ ระดับความรู้สึกตัว สัญญาณชีพ OFC
ดูแลเพื่อช่วยลดภาวะ ICP เช่น จัดท่านอนศีรษะสูง 30หลีกเลี่ยงการงอพับของคอและการหมุนหรือหันศีรษะ
ประเมินและบันทึกอาการแสดงของภาวะ brain herniation เช่น รูม่านตาลดลงหรือไม่เท่ากัน
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง และให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา การดูดเสมหะและทําครั้งละไม่เกิน 15 นาที หลีกเลี่ยงการเคาะปอด
ภาวะ Hydrocephalus
ความหมาย
ภาวะที่มีนํ้าไขสันหลังคั่งอยู่ในกะโหลกศีรษะมากผิดปกติ ซึ่งมีผลทําให้ความดันในกะโหลกศีรษะสูง
สาเหตุ
การสร้างนํ้าไขสันหลังมากผิดปกติ
การอุดกั้นของทางผ่านของนํ้าไขสันหลัง อาจเรียกว่า Obstructive Hydrocephalus
ความผิดปกติในการดูดซึมนํ้าไขสันหลัง ซึ่งอาจเรียกว่า Communicating Hydrocephalus
อาการและอาการแสดง
มาพบแพทย์ด้วยเรื่องศีรษะโต
มีหน้าผากโปนเด่นกว่าปกติ หนังศีรษะ บาง เป็นมัน
รุนแรงจะมีขาเกร็งทั้ง 2 ข้าง มีreflex ไวขึ้น มี clonus ที่ข้อเท้าและอาจมีอาเจียน ซึม
หลอดเลือดดํบริเวณหนังศีรษะมีขนาดใหญ่ผิดปกติชัดเจน มี sunset eyes
ขม่อมจะใหญ่กว่าปกติและตึงมากเมื่อเคาะดูจะเสียงเหมือนภาชนะร้าว (cracked pot)
การรักษา
การผ่าตัด เพื่อแก้ไขสาเหตุโดยตรง
Ventriculo-Atrial shunt
Ventriculo-Peritoneal shunt
การรักษาโดยการเจาะหลังร่วมกับการใช้ยา
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพเปรียบเทียบก่อนและหลังผ่าตัด
ประเมิน OFC ทุกวัน ประเมิน I/O และอาการทั่วไป
ประเมินและดูแลความสะอาดบริเวณที่มีผ่าปิดแผล เช่น ที่ศีรษะ อกหรือหน้าท้อง
ให้ยาปฏิชีวนะและอื่นๆ ตามแผนการรักษาทั้งก่อนและหลังผ่าตัด
ดูแลการได้รับนํ้าและอาหาร ตลอดจนความสะอาดทั่วไปของร่างกาย
แนะนําผู้ปกครองให้มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย เพื่อประโยชน์ทางด้านจิตใจ อารมณ์
ผู้ป่วยที่มีอาการชัก (Convulsion)
เกิดขึ้นได้ทั้งที่ไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดเกิดร่วมกับการมีโรคหรือภาวะต่างๆโดยเกิดขึ้นเพียงชั่วคราว
แบ่งชนิดของอาการชักดังนี้
Partial seizures:เป็นการชักที่เริ่มต้นที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายก่อน
Simple
Complex
Secondary generalized
Generalized seizures เป็นการชักทั้งตัวและผู้ป่วยเด็กมักไม่รู้สึกตัวร่วมด้วย
Absences (petit-mal)
Myoclonic
Clonic
Tonic
Atonic
Unclassified seizures
Status เป็นการชักตั้งแต่ 2ครั้งขึ้นไป โดยระหว่างการชักนี้ระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
สาเหตุ
ภาวะติดเชื้อที่กะโหลกศีรษะ เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
ภาวะเลือดออกในกะโหลกศีรษะ
ภาวะผิดปกติทาง metabolism เช่น Hypocalcemia,
เนื้องอกในกะโหลกศีรษะ
ภาวะไข้สูงในเด็กเล็ก
Infantile Spasm
มีอาการงอตัว และแขนขาโอบเข้าหากันหัวผงกอย่างรวดเร็วคล้ายสะดุ้ง
อาการกระตุกเกิดขึ้นเป็นชุดติดต่อกันหลายๆ
มักพบในเด็กอายุขวบแรกและส่วนใหญ่อยู่ใน
Febrile Convulsion
หมายถึงอาการชักที่เกิดในขณะที่เด็กมีไข้
Primary Febrile convulsion (simple febrile convulsion)
ไม่มีอาการหรือความผิดปกติของระบบสมอง มีอาการชักเพียงระยะสั้นๆ
Secondary Febrile Convulsion (complex febrile convulsion, seizure with fever)
ผู้ป่วยเด็กมักจะมีความผิดปกติของระบบประสาทเป็นเวลานานกว่า 15 นาที
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการชัก
อายุของผู้ป่วยเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กที่มีอาการชักครั้งแรกในช่วงอายุก่อน 1 ปี
มีความผิดปกติของระบบประสาทก่อนมีอาการชัก
ประวัติการชักของสมาชิกในครอบครัว
ไข้ที่เกิดร่วมกับการติดเชื้อ
การพยาบาล
ดูแลใกล้ชิดขณะที่มีการชัก และภายหลังการชัก ไมควรผูกยึดหรือจับผู้ป่วยใส่ air way
สังเกตและบันทึกลักษณะการชัก ระยะเวลาที่ชัก สังเกตลักษณะสิ่งกระตุ้นของการชักและอาการ
ดูแลให้ผู้ป่วยพักหลับเพียงพอ ลดสิ่งกระตุ้นจากภายนอก เช่น แสง เสียงและการทําให้ผู้ป่วยเกิดความเครียด
ให้ยาตามแผนการรักษา และสังเกตอาการข้างเคียงจากยาประเภทต้านการชัก ยาสงบประสาท
ดูแลและประคับประคองด้านจิตใจ อารมณ์ของผู้ป่วยเด็กและผู้ปกครอง
ผู้ป่วยเด็ก (Cerebral palsy : CP)
ความหมาย
ความพิการทางสมอง เป็นพยาธิสภาพอย่างถาวรของสมองและความบกพร่องทางมอเตอร์
พยาธิสภาพของสมองที่ควบคุมการเคลื่อนไหวทําให้เกิดความผิดปกติในการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อทํางานไม่ประสานกัน มีอาการเกร็งของแขนขา
พยาธิสภาพเกิดขึ้นในระยะที่สมองกําลังเจริญเติบโต
ชนิดของโรค
Spastic Cerebral palsy (Pyramidal) ชนิดแข็งเกร็ง ผู้ป่วยเด็กจะมีพยาธิสภาพ ที่ motor cortex
Extrapyramidal Cerebral palsy มีกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก (Hypotonic)
Mixed Cerebral Palsy
สาเหตุ
จากมารดา มีการติดเชื้อขณะตั้งครรภ์เช่น หัดเยอรมัน หรือการติดเชื้อไวรัสชนิดอื่น
ระยะคลอดสาเหตุที่พบบ่อยคือ Maternal or fetal anoxia , Premature birth
หลังคลอด พบสาเหตุได้ประมาณ 15% คือ Accidental head injury,
อาการและอาการแสดง
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า โดยเฉพาะด้านการเคลื่อนไหว
ปัญญาอ่อน
อาจพบอาการอื่นร่วมด้วยเช่น ชัก หูหนวก มองไม่เห็น การรับรู้ผิดปกติรวมทั้งปัญหาด้านการพูด
การวินิจฉัย
จากประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดของมารดา ประวัติการติดเชื้อของเด็ก
การตรวจร่างกาย ความผิดปกติที่สังเกตได้
เวลาจับยืนจะยืดขาตรงเกร็ง
มี Cortical Thumb posture หลังอายุ 3 เดือน
การพยาบาล
ประเมินความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง หรือในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันของผู้ป่วย
ช่วยวางแผนในการดูแลร่วมกับผู้ปกครอง และกระตุ้นให้ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเอง
กระตุ้นให้ออกกําลังกายบนเตียง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารและนํ้าอย่างเพียงพอ
ภาวะ Myelodysplasia
ความหมาย
เป็นความผิดปกติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของ spinal column ตั้งแต่เป็นตัวอ่อนในครรภ์มารดา (Embryonic life) โดยไม่มีการเจริญปิดของ neural tube
ชนิด
Spina bifida occulta พวกนี้ tube ปิดแล้วแต่ Mesoderm ที่มาเจริญคั่นไม่ดีคือ Lamina
Meningocele เป็นความผิดปกติที่ meninges ยื่นออกไปเป็นก้อนที่มีผิวหนังคลุม
Myelomeningocele เป็นความผิดปกติที่ไขสันหลังผิดปกติและยื่นเข้าไปอยู่ในถุง meningocele
สาเหตุ
การขาดอาหาร โดยเฉพาะ สังกะสี โฟเลต วิตามิน
อายุของมารดา กลุ่มที่เสี่ยงคือ มารดาวัยรุ่น และมารดาอายุมากกว่า 35 ปี
การรักษา
โอกาสที่ผู้ป่วยเด็กจะเจริญขึ้นมาดําเนินชีวิตที่คุ้มค่าการทําลายของเนื้อสมอง จาก Hydrocephalus
ลักษณะของ Meningocele ต้องพิจารณาถึถ้าบางมากอาจแตกได้ง่าย ทําให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย ควรทําการผ่าตัด
การพยาบาล
ดูแลความสะอาดและปิดแผลด้วย NSS และปิด steriled gauze เปลี่ยนทุก 2 ชั่วโมง
จัดท่านอน ไม่ให้นอนทับบริเวณแผล
สังเกตอาการทั่วไป และประเมินการติดเชื้อจาก สัญญาณชีพ และอาการอื่นๆ เช่น ซึมลง ดูดนมได้
ดูแลการได้รับอาหารและนํ้าอย่างเพียงพอ ประเมินนํ้าหนักตัว
ผู้ป่วยเด็กที่มีการติดเชื้อระบบประสาท
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
เยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดเป็นหนอง (Purulent meningitis)
สาเหตุ
ทารกแรกเกิดมักเกิดจาก Escherichia coli, Pseudomonas,
ทารกอายุ 1 เดือนถึง 1 ปีมักเกิดจาก H.Influenzae type B, Streptococcus pneumoniae
อาการทางคลินิก
ทารกจะซึม ไม่ดูดนม ชัก
มีไข้ ขม่อมหน้าโป่งตึง มีอาการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ ตามเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรค นาน 10-14 วัน
รักษาตามอาการเช่น ยาลดไข้ยาลดสมองบวม
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อวัณโรค (Tuberculous meningitis)
สาเหตุ
เกิดจาก Mycobacterium tuberculosis
การวินิจฉัย
Tuberculin test ได้ผลบวก
ลักษณะนํ้าไขสันหลัง
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก
การรักษา
ยาปฏิชีวนะ
รักษาประคับประคอง
รักษาอาการของความดันในกะโหลกศีรษะสูง คือ ยาลดสมองบวม และลดการคั่งของนํ้าไขสันหลังใน
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อไวรัส (Viral meningitis)
สาเหตุ
เชื้อไวรัสที่พบบ่อยคือ Coxsachie group B, Echo virus,
อาการทางคลินิก
มีการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมองและอาการเฉพาะของการติดเชื้อไวรัสแต่ละชนิด
การวินิจฉัยโรค
จากประวัติอาการ การตรวจร่างกาย การตรวจเลือดและนํ้าไขสันหลัง
การรักษา
รักษาตามอาการ เช่น ยาลดไข้ยาระงับการอาเจียน
ไข้สมองอักเสบ (Encephalitis)
พาหะนําโรคยุงชนิด Culex และ Aedes
อาการทางคลินิก
มีไข้ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน
การวินิจฉัยโรค
การตรวจเลือด
ตรวจนํ้าไขสันหลัง
ตรวจซีรั่มหาไตเตอร์ของแอนตีบอดีย์ต่อเชื้อไวรัส
การรักษา
ลดภาวะสมองบวม ให้ Mannitol, Dexamethasone
ระงับการชักให้ Phenobarb, Diazepam
ให้อาหาร นํ้า และเกลือแร่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
โรคฝีในสมอง (Brain abscess)
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย ที่พบบ่อยคือ Streptococcus Staphylococcus เข้าสู่สมองโดยทาง กระแสเลือด
อาการทางคลินิก
อาการของการติดเชื้อเช่น ไข้สูง อ่อนเพลีย ซึม
อาการของภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
อาการแสดงเฉพาะที่ของระบบประสาท ขึ้นกับตําแหน่งของฝี
การวินิจฉัยโรค
การตรวจเลือดพบเม็ดเลือดขาวเพิ่มจํานวนมากและเซลนิวโตรฟิลขึ้นสูง
การถ่ายภาพรังสีของกะโหลกศีรษะ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง (EEC), Brain scan, Cerebral angiogram,
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ
ให้ยาลดการบวมของสมอง
ผ่าตัดระบายหนองหรือตัดเอาส่วนที่เป็นฝีออก
การพยาบาล
ดูในการพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มี ICP และการพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีอาการชัก
ให้ยาปฏิชีวนะ ยาลดอาการบวมในสมอง ยาป้องกันและยาต้านการชักตามแผนการรักษา
ดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังการผ่าตัดเกี่ยวกับทางสมอง
ประเมินนํ้าหนักตัวและภาวะการขาดนํ้า
ดูแลการได้รับนํ้าและสารอาหาร เช่น IV, gavage feeding, กระตุ้นให้ดูดนม
ประเมินและบันทึก I/O
จัดสิ่งแวดล้อม จัดท่านอนให้เหมาะสม การจับต้องหรือพลิกตัว ควรทําอย่างนุ่มนวล
เช็ดตัวและให้ยาลดไข้หรือยาบรรเทาอาการเจ็บปวด