Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก (Nursing care of Fracture in children) -…
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก (Nursing care of Fracture in children)
พัฒนาการเด็กตั้งแต่แรกเกิด
ช่วงอายุ 3 เดือน
ชันคอ
ยกศีรษะจากพื้นเมื่อนอนคว่ำ
ทำเสียงอือ อาในลำคอ
ช่วงอายุ 4 เดือน
พลิกตะแคงตัวได้
หันตามเสียง
กางมือออกแล้วกำของเล่นได้
มองเห็นสีต่างๆได้ดีขึ้น โดยเฉพาะสีสันสดๆ เช่น แดง เหลือง น้ำเงิน
ช่วงอายุ 6 เดือน
นั่งทรงตัวได้นาน
สนใจฟังคนพูด
จ้องมองหน้า
ร้องไห้เมื่อเห็นคนแปลกหน้า
ช่วงอายุ 12 เดือน
ค้นหาของเล่นที่ซ่อนไว้ใต้ผ้าคลุมได้
ดื่มน้ำจากถ้วยแก้วหรือขันเล็กๆได้
ช่วงอายุ 15 เดือน
พูดคำที่มีความหมายได้อย่างน้อย 4 คำ
ร่วมมือในการแต่งตัว
ช่วงอายุ 18 เดือน
หลบหลีกสิ่งกีดขวางได้
ชี้อวัยวะของร่างกายได้4-5ส่วน
กระดูกหัก หมายถึง ภาวะโครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกัน
ข้อเคลื่อน หมายถึง ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่หรือหลุดออกจากเบ้า
กระดูกเด็กมีลักษณะแตกต่างจากผู้ใหญ่
แผ่นเติบโต (Growth Plate) มีความอ่อนแอกว่าเอ็น,เยื่อหุ้มข้อ,เอ็นหุ้มข้อ เมื่อมีการแตกหักจะหักบริเวณนี้มากกว่า
เยื่อหุ้มกระดูก (Periosteum) มีความแข็งแรงและสามารถสร้างกระดูกได้ดี กระดูกหักในเด็กจึงติดเร็ว
เยื่อบุโพรงกระดูก (Endosteum) สามารถสร้างกระดูกได้มากและเร็ว
ปัญหาด้านการวินิจฉัยกระดูกหักในเด็กการตรวจร่างกายอาจไม่แน่ชัด หรือเชื่อถือได้ยาก
การบวมของแขน ขาในเด็กจะเกิดขึ้นเร็วภายหลังกระดูกหักหรือข้อเคลื่อน แต่การบวมก็จะหายเร็ว
การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียน (Ischemic changes) การใส่เฝือกหรือพันผ้าแน่นเกินไป ต้องระมัดระวังและแก้ไขทันที เพราะอาจเกิดภาวะvolk
การเจริญเติบโตของเด็กเล็กเริ่มจากการทดแทนกระดูกอ่อน
สถิติกระดูกหักในเด็ก
อายุ พบมากในช่วงอายุ 12-15 ปี
พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
เกิดจากการหกล้มป็นส่วนใหญ่
ตำแหน่งที่พบบ่อย คือ กระดูกต้นแขน กระดูกท่อนปลาย
พบมากทางซีกซ้ายมากกว่าซีกขวา
การรักษาส่วนใหญ่ นิยมการใส่เฝือก ไม่นิยมการผ่าตัด
ใช้เวลารักษาส่วนใหญ่ประมาณ 4-6 สัปดาห์
สาเหตุ มักเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุ
อาการ อาการแสดง
ปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
บวม เนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือเกยกัน
รอยจ้ำเขียว
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
กระดูกและข้อเคลื่อนในเด็กส่วนใหญ่รักษาโดยไม่ผ่าตัด ยกเว้น
กระดูกมีแผลเปิด
กระดูกหักผ่านข้อ
กระดูกหักในเด็กตามการแบ่งของ salter ชนิด III, IV
กระดูกหักจากการหดตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ
กระดูกฟีเมอร์หักและเคลื่อน
ข้อเคลื่อนที่มีชั้นกระดูกติดอยู่ในข้อ
ข้อเคลื่อนที่ไม่สามารถจัดเข้าที่ได้ดดยไม่ผ่าตัด เป็นนานกว่า2สัปดาห์
หลักการรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับการบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดขึ้นกับกระดูกหัก
เป้าหมายการรักษา
ระยะแรก มุ่งลดความเจ็บปวด
จัดกระดูกให้เข้าที่และดามกระดูก
ให้กระดูกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว
ให้อวัยวะนั้นกลับทำงานได้เร็วที่สุด
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก (Fracture of clavicle)
อาการ
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
Crepitus คลำได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวมข้างที่เป็น
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
การรักษา
ทารก จะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่ง โดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศาให้ติดกับลำตัว พันนาน 10-14 วัน
เด็กอายุมากกว่า 3 ปี ใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา และพันแขนให้ติดกับลำตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าสำลี คล้องแขนไว้นาน 2-3 สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก (Fracture of humerus)
ทารก เกิดในรายที่คลอดติดไหล่ แล้วผู้คลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
เด็กโต อาจเกิดจากการหกล้ม
อาการ
หัวไหล่บวม
ช้ำ
เจ็บหัวไหล่เวลาเคลื่อนไหว
การรักษา
ห้อยแขนข้างที่หักไว้ด้วยผ้าคล้องแขนไว้นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
กระดูกข้อศอกหัก (Supracondylar fracture)
พบบ่อยในเด็ก เพราะเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย
โรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น Volkman's ischemic contracture กระดูกหักบริเวณนี้อาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของกระดูก Humerus
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
พบได้บ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี เกิดจากการหยอกล้อ แล้วดึงแขนหรือหิ้วแขนเด็กขึ้นมาตรงๆ
กระดูกกลายแขนหัก
ตำแหน่งที่พบบ่อย คือ บริเวณปลายล่างๆ หรือส่วนล่าง1/3 ของลำกระดูก
กระดูกต้นขาหัก (Fracture of femur)
ตำแหน่งที่พบ คือ ช่วงกลางของกระดูกต้นขา
ภยันตรายต่อข่ายประสาท (Brachial plexus)จากการคลอด (birth palsy)
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด
การวินิจฉัย
สังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติ เคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา
มีการฟื้นตัวของเส้นประสาท โดยไม่จำเป้นต้องผ่าตัด
การพยาบาล
ให้คำแนะนำการปฏิบัตตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
ระวังไ่ให้แผลเปียกน้ำหรือสกปรก
ห้ามผู้ป่วยแกะแผลหรือเอาเฝือกออก
สังเกตอาการผิดปกติที่จำเป็นต้องมาโรงพยาบาล
ลดความเครียดหรือคลายความวิตกกังวล
จัดกิจกรรมเปิดโอกาสให้ระบาย
สร้างความมั่นใจและความรู้สึกดีแก่เด็กต่อการรักษา
ประเมินสภาพความต้องการทางด้านจิตใจ
ป้องกันการติดเชื้อที่กระดูกเนื่องจากมีแผล
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ประเมินลักษณะอาการที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อ
ทำความสะอาดแผลก่อนเข้าเฝือก
ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
กระตุ้นให้เด็กมีการออกกำลังบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ เพื่อป้องกันการติดของข้อ
พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ
กินอาหารที่มีกากใย เพื่อไม่ให้เกิดท้องผูก
ป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่ได้รับบาดเจ็บ
ประเมินลักษณะการเจ็บโดยการสังเกต
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง นุ่มนวล
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน
ดึงกระดูก (Traction)
ฺBryant's traction แรกเกิน-2ขวบ นน.ไม่เกิน13กิโลกรัม
Over head traction ใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขน
Dunlop's traction ใช้ในรายที่มีอาการบวมมาก
Skin traction ใช้ในเด็กโตมากกว่า3ขวบ
Russell's traction ชนิดนี้อาจเกิดปัญหาผ้าslingที่คล้องใต้ขาไปกดเส้นเลือดเส้นประสาทได้
ผ่าตัดทำ open reduction internal fixation (ORIF)
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
เป็นลักษณะที่ศีรษะเอียงจากแนวกึ่งกลางไปด้านใดด้านหนึ่ง
โรคที่พบร่วม คือ ข้อสะโพกผิดปกติ,เท้าผิดปกติ
อาการ
คลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง
ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง
ศีรษะบิดเบี้ยวไม่สมดุล
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่หดสั้น ได้ผลดีเมื่อเด็กอายุน้อยกว่า1ปี
การผ่าตัด อายุที่เหมาะสมช่วง 1-4 ปี
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
อาการแสดง
กระดูกสันหลังคดไปด้านข้าง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกออกจากแนวลำตัว
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา
ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง
มีอาการปวดเมื่อหลังคดมาก
เริ่มมีอาการเมื่ออายุยังน้อยยิ่งมีความพิการมาก
เป้าหมายของการรักษา
ป้องกันไม่ให้โรคเป็นมากขึ้น
แก้ไขหรือลดความพิการ
ป้องกันและลดความปวด
ปรับปรุงสมรรถภาพของปอดและหัวใจ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ให้กระดูกสันหลังมีความสมดุลและแข็งแรง
การรักษา
แบบไม่ผ่าตัด
คือ ใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว
แบบผ่าตัด
เมื่อพบว่ากระดูกสันหลังคดเกิน 45-50 องศา
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญ vitD
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้
โรคไตบางชนิดทำให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและฟอตเฟสได้
ภาวะฟอสเฟตต่ำ
การรักษา
แบบประคับประคอง ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
การป้องกัน
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
รับประทานอาการเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม
การป้องกันให้วิตามินดี 200 หน่วยต่อน้ำหนักตัวเด็ก
หลีกเลี่ยงการให้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม
ออกกำลังกายกระตุ้นการสร้างของกระดูก
การติดเชื้อในกระดูกและข้อ
การติดเชื้อที่ข้อ
การวินิจฉัยการติดเชื้อที่ข้อต้องมี 5ใน6
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
ข้อบวม
มีอาการปวดของข้อ
อุณหภูมิสูงมากกว่า 38.3 องศาเซลเซียส
ปวดมากเมื่อขยับข้อ
มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาธิสภาพอื่นๆ
พบในเด็กอายุน้อยกว่า 13 ปี
สาเหตุ
เชื้อรา,เชื้อแบคทีเรีย
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัดเอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
ข้ออักเสบติดเชื้อ Septic arthritis
การวินิจฉัย
มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดงใน2-3วันแรกของการติดเชื้อ
แผลlab ผลCBC พบ ESR,CRP สูงขึ้นเล็กน้อย
การตรวจรังสี
Plain flim อาจพบช่องระหว่างข้อกว้าง
Ultrasound บอกถึงภาวะมีน้ำในข้อมาก หรือเคลื่อนหลุด
Bone scan / MRI บอกถึงการติดเชื้อกระดูก
วัณโรคกระดูกและข้อ
ตำแหน่งที่พบบ่อย ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
สาเหตุ เชื้อMycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ จากการไอ จามของผู้ป่วย
โรคเท้าปุก (Club Foot)
รุ)ร่างของเท้ามีลักษณะข้อเท้าจิกลง สันเท้าบิดเข้าข้างใน ส่วนกลางเท้าและเท้าด้านหน้าบิดงุ้มเข้าใน
การรักษา
การดัดและใส่เฝือก
ดัดให้รูปร่างเท้าปกติ ได้ผลดีกรณีที่แข็งไม่มากมารักษาตอนอายุน้อย
การผ่าตัด
รายที่เนื้อเยื่อมีความแข็ง กระดูกแข็งผิดรูป