Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดและหลักการพยาบาลเด็ก, นางสาวชุติกาญจน์ พร้อมมูล เลขที่30 ห้อง36/1 -…
แนวคิดและหลักการพยาบาลเด็ก
ระยะของการเจ็บป่วย
ระยะเฉียบพลัน (Acute)
ระยะเรื้อรัง(Chornic)
ระยะวิกฤต ( C r i s i s )
ระยะสุดท้าย (Death/Dying)
ปฏิกิริยาของเด็กต่อการเจ็บป่วย
ความวิตกกังวลจากการแยกจาก (Separation anxiety)
ความเจ็บปวดทางกายเนื่องจากการตรวจรักษา (body injury and pain)
ความเครียดและการปรับตัวของเด็กและครอบครัว
การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์
ความตาย
ผลกระทบของความเจ็บป่วยของเด็กแต่ละช่วงวัย
วัยทารก
กินได้น้อยลง ถูกจํากัดกิจกรรม เจ็บปวด
ความสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก ขาดการกระตุ้นประสาทจากสัมผัสมารดา
พัฒนาการของเด็ก
วัยเดิน
อาจคิดว่าบิดามารดาทิ้ง
รู้สึกหวาดกลัวหรือไม่ยอมอยู่ในอำนาจ ไม่สามารถริเริ่มทําอะไรได้ด้วยตนเอง
วัยก่อนเรียน
มีความยากลําบากในการเรียนรู้
อาจคิดว่า การอยู่โรงพยาบาลคือการโดนลงโทษ
วัยเรียน
หย่อนความสามารถในเรื่องเรียน
สูญเสียการนับถือตนเอง รู้สึกมีปมด้อย
วัยรุ่น
ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง ภาพลักษณ์ บุคลิกภาพ
สิทธิเด็ก
20 พฤศจิกายนของทุกปีเกือบทั้งโลกกําหนดให้เป็นวันสิทธิเด็ก
ประเทศไทยลงนามเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก มีทั้งหมด 4 ด้าน
สิทธิในการมีชีวิต
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง
สิทธิในด้านพัฒนาการ
สิทธิในการมีส่วนร่วม
ความเข้าใจของเด็กเกี่ยวกับการตาย
วัยแรกเกิดและวัยทารก
ทารกจะเชื่อมโยงกับคนรอบข้างผ่านการสัมผัส กลิ่น เสียง
จะร้องเมื่อหิว เจ็บ หรือ มีอาการไม่สุขสบาย
หากเด็กอยู่ระยะสุดท้ายของชีวิต พ่อ แม่ และบุคลากร ควรช่วยเหลือเด็กให้ผ่านช่วงเวลาของความตายโดยไม่ทุกข์ทรมาน
ไม่ปล่อยให้เด็กเผชิญความตายตามลำพัง
เด็กวัยเดินและวัยก่อนเรียน
คิดว่าตายแล้วสามารถกลับคืนมาได้ (Reversible) เหมือนการไปเที่ยวชั่วคราว
ความตายเปรีบบเหมือนการนอนหลับ ทําให้เด็กบางคนกลัวการนอน
บางคนอาจเข้าใจว่าความตายเป็นจุดสุดท้ายของชีวิต เกือบสมบูรณ์ โดยเฉพาะเด็กที่เคยเผชิญ การตายของสัตว์เลี้ยงหรอื ผู้ใหญ่
วัยเรียน
เรียนรู้ว่าตายแล้วจะกลับคืนมาอีกไม่ได้ เข้าใจเรื่องของเวลา อดีต ปัจจุบัน อนาคต
เรียนรู้ว่า ตนเองอาจมีชีวิตเติบโตหรือตายจากไป
เข้าใจว่าตนเองอาจจะตายสักวันนึง
เข้าใจพิธีการงานศพ
กลัวการสูญเสียตนเอง ละบุคคลเป็นที่รัก
วัยรุ่น
เป็นวัยที่มองว่าเรื่องความตายเป็นเรื่องไกลตัว
ยอมรับความตายของตนเองยากที่สุดเหมือนการลงโทษ
พ่อแม่หรือ ผู้ดูแล ควรให้ความรัก เอาใจใส่ถึงแม้ว่า เด็กไม่ได้ร้องขอ
การพยาบาล
ระยะเรื้อรังและระยะสุดท้าย
Body image
Death and dying
ระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤต
Separation anxiety
ระยะสิ้นหวัง (despair)
อาการโศกเศร้าเสียใจอย่างลึกซึ่ง แยกตัวอยู่เงียบ ร้องไห้น้อยลง มีพฤติกรรมถดถอย
ดึงผม ขาวนหน้าตนเอง เอาศีรษะฟาดเตียง
เด็กจะยอมร่วมมือในการรักษาที่เจ็บปวด ต่อต้านเพียงเล็กน้อย ยอมกินอาหาร
เมื่อมารดามาเยี่ยมจะร้องไห้รุนแรง
ระยะปฏิเสธ(Denial)
เด็กจะหันกลับมาสนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัว เหมือนเด็กปรับ ตัวได้ แต่เพียงเก็บกดความรู้สึกที่มีต่อมารดาไว้
หลีกเลี่ยงที่จะไปใกล้ชิดกับคนใดคนหนึ่ง ไม่กล้าเสี่ยงที่จะไว้วางใจบิดามารดาอีดต่อไป
Pain management
การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา
การประเมินการเปลี่ยนแปลงทาบพฤติกรรม
การประเมินความเจ็บปวดด้วยตนเอง
เครื่องมือที่ใช้ประเมินPainในเด็ก
ความรุนแรงของการเจ็บปวด
ตําแหน่งที่ปวด
รูปแบบระยะเวลาความเจ็บปวด
เจ็บตลอดเวลา
เป็นๆหลายๆ
ลักษณะการเจ็บปวด
เจ็บ
ปวด
แสบ
ปวดร้อน
ปวดแสบ
ผลกระทบต่อความเจ็บปวด
หงุดหงิด
ก้าวร้าว
นอนไม่หลับ
ปัจจัยที่ทําให้ปวดมากขึ้นลดลง
Cries Pain Scale
Neonatal Infants Pain Scale
CHEOPS
ใช้กับเด็ก 1-6ปีหรือไม่รู้สึกตัว
คะแนนอยู่ระหว่าง 4-13
พยาบาลเปนผู้ประเมิน
การแปลผล
4=ไม่ปวด
5-7=ปวดน้อย
8-10=ปวดปานกลาง
11-13=ปวดมาก
FLACC
ใช้กับเด็ก 1เดือน-6ปี หร่อ ไม่รู้สึกตัว
คะแนนอยู่ระหว่าง 0-10
พยาบาลเป็นผู้ประเมิน
Faces Scale
การใช้รูปภาพแสดงสีหน้าบอกความรู้สึกการปวด
เริ่มตั้งแต่ไม่ปวดแทนด้วยภาพสีหน้ายิ้ม แย้มร่าเริง มีความสุข
ปวดพอทนแทนด้วยภาพหน้านิ่วคิ้วขมวด ปวดมากที่สุดแทนด้วยภาพใบหน้าที่มีนาตาไหลพราก
นิยมใชิมนเด็กเล็กหรือคนชราทีไม่สามารถสื่อสารด้วยคําพูดได้
Numeric rating scales
คะแนนอยู่ระหว่าง 0-10
ใช้ได้ตั้งแต่เด็กวัยเรียนขึ้นไป
การแปลผล
0=ไม่ปวด
1-3=ปวดน้อย
4-6=ปวดปานกลาง
7-10=ปวดมาก
หลักการประเมินความปวด
ประเมินก่อนให้การพยาบาล เพื่อเป็นสมมติฐานหลังให้การพยาบาลเพื่ประเมินผล
ควรประเมินอย่างสมากเสมอและต่อเนื่องโดยประเมินทั้งขณะพักและขณะทํากิจกรรม
เลือกวิธีที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย และควรใช้วิธีเดียวกันตลอดให้การพยาบาล
เด็กเล็กควรได้รับการดูแลเป็นพิเศษ เนื่องจากการประเมินอาจได้ข้อมูลไม่ครอบคลุมหรือถูกต้องทั้งหมด
มีการบันทึกเป็นหลักฐาน
หลีกเลี่ยงคําถามอันเป็นเหตุให้บดบังข้อเท็จจริงหรือคําถามที่กระตุ้นให้เ กิดอารมณ์เศร้าเสียใจ
บทบาทพยาบาลกับการประเมินความปวด
สร้างสัมพันธ์ที่ดีใช้คำพูดสุภาพ เข้าใจง่าย
ให้ความสนใจโดยเป็นผู้ฟังที่ดี และเชื่อในคําบอกเล่าของผู้ป่วย
ระหว่างการประเมินควรบันทึกพฤติกรรม แนวคิด สภาพอารมณ์จิตใจ และบุคลิกภาพของผู้ป่วยเพื่อเป็นข้อมูล
ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถตอบข้อซักถามได้ อาจใช้วิธีการสัมภาษณ์จากผู้ดูแล หรือสังเกตพฤติกรรมและผลกระทบที่เกิดจากความเจ็บปวด
Critical care concept
Stress and coping
แนวคิดและหลักการพยาบาลใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
องค์ประกอบที่สําคัญ
จัดบริการให้มีความยืดหยุ่นเข้าถึงได้และ
ตอบสนองความต้องการของครอบครัว
จัดหาวิธีการและทางเลือกของการรักษาให้กับบิดามารดา
สนับสนุนกระตุ้นให้เกิดการดูแลแบบสหสาขาเพื่อแลกเปลื่ยนข้อมูลที่สํา คัญเกี่ยวกับการดูแลเด็กกับวิชาชีพ
กระตุ้นและสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายผู้ปกครอง
ให้คุณค่าความสําคัญของการช่วยเหลือระหว่างครอบครัว
สนับสนุนความร่วมมือของเครือข่ายระหว่างกลุ่มแพทยัดละเครือข่ายผู้ปกครอง
ส่งต่อครอบครัวไปยังเครือข่ายผู้ปกครอง
เคารพและยอมรับในความหลากหลายของเชื้อชาติ วันนธรรม ค่านิยม ความเชื่อและสังคม เศรษฐกิจ ครอบครัว
ยอมรับว่าครอบครัวมีจุดแข็งและมีลักษณะเฉพาะ
รวมทั้งเคารพการเผชิญ ปัญหาที่แตกต่างกัน
ประเมินจุดแข็ง และมีวิธีการเผชิญปะญหาของครอบครัว
[เปิดใจรับฟังความคิดเห็นของครอบครัวค่านิยมความเชื่อและการตัดสินใจของครอบครัว
เสริมสร้างพลังอำนาจ (Empowrement)ของครอบครัว โดยเริ่มจากจุดแข็งที่ครอบครัวมีอยู่
ลงมือปฏิบัติสนับสนุนและช่วยเหลือครอบครัวที่มีปัญหาทางด้านอารมณ์ และเศรษฐกิจ
ส่งปรึกษาสังคมสงเคราะหเ์รื่องเงิน
ส่งหน่วยปรึกษาเมื่อเกิดปัญหา การปรับตัวหรือความคับข้องใจ
เข้าใจและผสานความต้องการตามระยะพัฒนาการของบุคคลและครอบ ครัวในระบบบริการสุขภาพ
การสนับสนุน
อธิบายคําศัพท์ทางการแพท์ให้ครอบครัวได้เข้าใจ
ให้ข้อมูลบิดามารดาทั้งวาจาและลายลักษณ์อักษร
อธิบายเป้าหมายและเหตุผลของการพยาบาล
ตอบข้อสงสัยของบิดามารดา
ความร่วมมือ
มีการสื่อสารที่ดีเปิดเผยและต่อเนื่อง
ให้เกียรติซึ่งกันและกัน และใกินวามไว้วางใจ
สื่อสารทําความเข้าใจถึงบทบาท และความคาดหวังของกันและกัน
วางแผนการรักษา และตัดสินใจร่วมกัน
การตระหนักและการเคารพ
ให้ความสําคัญในการตัดสินใจของสมาชิกในครอบครัว
ให้ความสําคัญกับสิ่วที่ครอบครัวกังวลหรือเห็นว่า สําคัญ
สนับสนุนให้ครอบครัวทําหน้าที่ดูแลเด็กขณะป่วยอยู่ในโรงพยาบาล
ร่วมกับครอบครัว หาทางเลือกต่างๆในการดูแล
เด็กป่วยกับการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ต้องมีการปรับตัวของเด็กและครอบครัว ขึ้นอยู่กับ
พัฒนาการตามวัยของเด็ก
ประสบการณ์เดิมของเด็กที่เคยได้รับความเจ็บป่วยในครั้งก่อน
ความสามารถของเด็กต่อการปรับตัวและเผชิญความเครียด
ความรุนแรงของความเจ็บป่วย
ระบบการดูแลและการช่วยเหลือเด็ก
ความหมายของเด็ก
คนที่มีอายุยังน้อย
อายุไม่ครบ 18 ปีบริบูรณ์และยังไม่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรส
บุคคลที่อายุเกิน 7 ปีบริบูรณ์แต่ยังไม่เกิน 14ปีบริบูรณ์
บุคคลที่มีอายุตั้ง แต่ 15 ปีลงมา
บุคคลที่อายุไม่เกิน 18 ปีบริบูรณ์
ความหมายด้านสุขภาพ
บุคคลตั้งแต่แรกเกิดถึง 15ปี
ช่วงวัยของเด็กแบ่งตามระยะพัฒนาการ
Newbornทารกแรกเกิด28วันหลังคลอด
Infant ทารกอายุมากกว่า28 วันถึง 1 ปี
Toddler เด็กวัยเดินอายุ 1-3 ปี
Preschool age เด็กก่อนวัยเรียน 3-5ปี
School age เด็กวัยเรียนท6-12 ปี
Aldolescent วัยรุ่น13-15ปี
นางสาวชุติกาญจน์ พร้อมมูล
เลขที่30 ห้อง36/1